Show simple item record

New perspectives of dementia prevention and treatment

dc.contributor.authorก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากรth_TH
dc.contributor.authorKongkiat Kulkantrakornen_US
dc.date.accessioned2014-07-22T11:22:41Z
dc.date.available2014-07-22T11:22:41Z
dc.date.issued2557-07-22
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4095
dc.description.abstractภาวะสมองเสื่อมเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ และมีแนวโน้มสูงขึ้นตามโครงสร้าง ประชากรที่เปลี่ยนแปลงที่มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยโรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุที่พบ บ่อยที่สุด ผู้ป่วยมีความบกพร่องด้านสมรรถภาพสมองในหลายด้าน และมีผลต่อการดำรง ชีวิตประจำวัน การประเมินและวินิจฉัยที่ถูกต้องจึงมีความสำคัญมากในการดูแลรักษาผู้ป่วย เหล่านี้ โดยต้องแยกโรคทางกายหรือจิตเวชที่อาจรักษาให้กลับเป็นปกติได้ออกไปก่อนที่จะให้ การวินิจฉัยว่าเป็นโรคเหตุความเสื่อมของสมอง อาจตรวจเพิ่มเติมเพื่อให้ได้การวินิจฉัยตาม เกณฑ์มาตรฐานของแต่ละโรค เกณฑ์เหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ผ่าน มา ตามข้อมูลงานวิจัยทางพยาธิสรีรวิทยาที่ก้าวหน้าขึ้น โดยใช้ตัวชี้วัดทางชีววิทยามา ประกอบเพื่อให้การวินิจฉัยได้เร็วกว่าก่อน โดยหวังที่จะมีการพัฒนาการรักษาที่ได้ผลขึ้นหรือ อย่างน้อยสามารถชะลอโรคได้ ยาบำบัดรักษาโรคอัลไซเมอร์มีความก้าวหน้าขึ้นมากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ยาที่มีใช้ ในปัจจุบันได้แก่ ยากลุ่ม acetylcholinesterase inhibitors (AChEI) และ memantine แนวทางการรักษาปัจจุบันแนะนำให้ใช้ยากลุ่ม AchEI เป็นทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยที่มี อาการน้อย-ปานกลาง และ memantine ในรายที่มีอาการปานกลาง-รุนแรงหรือที่ไม่สามารถ ใช้ยา AchEIได้ แพทย์ผู้ใช้ยานี้ควรเฝ้าระวังผลข้างเคียงและประเมินว่าได้ประโยชน์หรือไม่เป็น ระยะ การใช้ยาอื่นเช่น สารต้านอนุมูลอิสระ สารต้านการอักเสบ ข้อมูลส่วนใหญ่พบว่าไม่ได้ผล ภูมิคุ้มกันบำบัด เป็นแนวทางการรักษาใหม่ที่ได้รับความสนใจ และอาจมีผลต่อพยาธิวิทยาของ โรคโดยตรง ที่สามารถยับยั้งการสะสมหรือกำจัดโปรตีน Abeta หรือ amyloid ในสมองth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรคสมองเสื่อมth_TH
dc.subjectอัลไซเมอร์th_TH
dc.titleแนวทางใหม่ในการประเมินและวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์th_TH
dc.title.alternativeNew perspectives of dementia prevention and treatmenten_US
dc.typePresentationen_US
dc.description.publicationเอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันที่ 21 – 23 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมจูปิเตอร์ (Jupiter) ชั้น 3 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพฯth_TH
dc.description.abstractalternativeDementia is a common condition in clinical practice. Its prevalence has been on the rise, due to the rapid increase of elderly population. Alzheimer’s disease is the most common cause of dementia syndrome. It often presents with progressive cognitive decline and followed by behavioral and psychological symptoms. Patients always had cognitive impairment in many aspects which impact their daily livings. Therefore, proper evaluation and diagnosis are very important in the patient’s care. Certain systemic and psychiatric diseases need to be excluded prior the diagnosis of neurodegenerative disease. Further investigation is often needed for specific diagnosis according to the standard criteria for each disease. During the past decade, the criteria have been changed significantly due to better understandings in their pathophysiology. Biological markers are incooperated to aid in earlier diagnosis. This will eventually hasten the research and development for more effective treatment, or at least slowing the disease progression. New understanding in its pathophysiology has paved the way to potentially more effective therapy. Pharmacological treatment for Alzheimer’s disease has been progressing for the past decade. However, the currently approved therapy is still limited to acetylcholinesterase inhibitors (AchEI) and memantine. AChEI (donepezil, rivastigmine and galantamine) is mainly indicated for mild to moderate disease. Each medication may have additional indication, according to its individual study. Memantine is indicated for moderate to severe disease and may be used as monotherapy or combination therapy with AChEI. They should be started and slowly titrated up to the recommended dosage. Treating physician should periodically monitor their side effect as well as efficacies. Even though their efficacy is modest, they are helpful in maintaining the patient’s cognitive function and possibly delaying the disease progression. Other drugs such as antioxidants and anti-inflammatory agents were not proven to be effective. Immunotherapy is the novel treatment strategy which may directly affect Alzheimer’s pathology. It either inhibits the accumulation or eliminates Abeta or amyloid protein in the brain.th_TH
.custom.citationก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร and Kongkiat Kulkantrakorn. "แนวทางใหม่ในการประเมินและวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์." 2557. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4095">http://hdl.handle.net/11228/4095</a>.
.custom.total_download5967
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month34
.custom.downloaded_this_year108
.custom.downloaded_fiscal_year259

Fulltext
Icon
Name: Kongkiat_Newpersp ...
Size: 1.560Mb
Format: PDF
Icon
Name: Kongkiat_Newpersp ...
Size: 1.575Mb
Format: PDF
Icon
Name: Kongkiat_Newpersp ...
Size: 582.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Presentations [882]
    เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม

Show simple item record