Show simple item record

Transformative Learning in Rural Doctors Education: A Case Study of Medical Educational Centre in Maharat Nakhon Ratchasima Hospital

dc.contributor.authorพนารัตน์ วิศวเทพนิมิตรth_TH
dc.contributor.authorPanarut Wisawatapnimiten_US
dc.contributor.authorกมลรัตน์ เทอร์เนอร์th_TH
dc.contributor.authorKamolrat Turneren_US
dc.coverage.spatialนครราชสีมาth_TH
dc.date.accessioned2015-02-02T08:56:45Z
dc.date.available2015-02-02T08:56:45Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 8,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2557) : 364-374th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4238
dc.description.abstractกำลังคนด้านสุขภาพเป็นหัวใจสำคัญของระบบสุขภาพ แต่ปัจจุบัน ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีปัญหาการขาดแคลนและการกระจายกำลังคนด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษขององค์การสหประชาชาติและความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ทั้งนี้ การแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ในชนบทนั้น จะต้องทำอย่างเป็นระบบ เริ่มตั้งแต่การวางแผนจัดการศึกษาให้สามารถผลิตแพทย์ได้อย่างมีคุณภาพ รัฐบาลไทยได้ริเริ่มจัดทำโครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทโดยพัฒนารูปแบบความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและมหาวิทยาลัยเพื่อแก้ไขปัญหานี้ตั้งแต่ปีพ.ศ.2537 บทความวิชาการนี้มุ่งหมายในการนำเสนอกรณีศึกษาของการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ซึ่งใช้วิธีการจัดกิจกรรม “ค่ายสร้างเสริมประสบการณ์นักศึกษาแพทย์” เป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ใช้กระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ของกิจกรรมนี้ส่งผลให้นักศึกษาแพทย์เข้าใจประชาชนแบบองค์รวม คุ้นเคยกับบริบทของชุมชนชนบท และจูงใจให้บัณฑิตแพทย์มีความพึงพอใจในการทำงานในพื้นที่ชนบท รวมทั้งพัฒนาคุณลักษณะบัณทิตแพทย์ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและความต้องการในศตวรรษที่ 21ซึ่งผลของกิจกรรมนี้ยังส่งผลต่อการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงของอาจารย์แพทย์อีกด้วย ดังนั้นสถาบันการศึกษาสำหรับแพทย์และบุคลากรด้านสุขภาพอื่นๆควรจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อให้นักศึกษาที่จะเป็นบุคลากรด้านสุขภาพในอนาคตมีประสบการณ์ในการทำงานในชนบทและทำงานร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพมากขึ้น โดยกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการอาจพิจารณาให้เป็นนโยบายเพื่อพัฒนาการศึกษาของบุคลากรด้านสุขภาพในศตวรรษที่ 21 ต่อไป ทั้งนี้การจัดกิจกรรมดังกล่าวจะต้องมีการประเมินผลลัพธ์อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ในการพัฒนากิจกรรมเสริมหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุขth_TH
dc.subjectแพทยศาสตร์,การศึกษาth_TH
dc.titleการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในการศึกษาของแพทย์ชนบท: กรณีศึกษาศูนย์แพทยศาสตรศึกษา ชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeTransformative Learning in Rural Doctors Education: A Case Study of Medical Educational Centre in Maharat Nakhon Ratchasima Hospitalen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeHealth workforce is one of the most important factors of health system. However, global society and Thailand have currently faced with shortage and maldistribution of health personnel especially rural doctors. This problem may affect the achievement of Millennium Development Goals and equity in accessing to health services. To solve the problem of rural doctor shortage, it needs systematic approach starting from medical education. Thai government has established the Collaborative Project to Increase Production of Rural Doctors: CPIRD with collaboration between the Ministry of Public Health and Ministry of Education to solve the problem since 1994. This article presents a good case study of transformative learning of Maharat Nakhon Ratchasima Hospital’s Medical Educational Center related to the activity “Medical camp for enhancing experiences of medical students”. This camp is an extra-curricular activity using transformative learning. Outcomes of this activity are to enhance medical students to understand rural people as a whole, be familiar with rural contexts, and be satisfied with rural work, as well as gain the skills required from the CPIRD and needed for the 21st century. This activity has also affected the development of teaching and learning processes of the medical instructors following the framework of transformative learning. Therefore, educational institutes producing physicians and other health professionals should organize this kind of co-curricular activity to enhance rural and inter-professional experiences of students who will become health professionals in the future. The Ministry of Public Health and the Ministry of Education may consider this activity to be policy for developing education of health professionals in the 21st century. However, systematic and continuous outcome evaluation of the activity is needed in order to develop a more beneficial and effective co-curriculum.en_US
dc.subject.keywordกำลังคนด้านสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordแพทย์ชนบทth_TH
.custom.citationพนารัตน์ วิศวเทพนิมิตร, Panarut Wisawatapnimit, กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ and Kamolrat Turner. "การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในการศึกษาของแพทย์ชนบท: กรณีศึกษาศูนย์แพทยศาสตรศึกษา ชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา." 2557. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4238">http://hdl.handle.net/11228/4238</a>.
.custom.total_download1308
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month7
.custom.downloaded_this_year37
.custom.downloaded_fiscal_year58

Fulltext
Icon
Name: hsri_journal_v8n4 ...
Size: 210.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record