Show simple item record

Risk factors for morbidity after liver resection

dc.contributor.authorกวิญ ลีละวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorKawin Leelawaten_US
dc.date.accessioned2015-07-03T04:45:44Z
dc.date.available2015-07-03T04:45:44Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.otherhs2159
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4271
dc.description.abstractภาวะตับวายภายหลังการผ่าตัดยังจัดเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญและพบได้บ่อยทำให้ผู้ป่วยต้องทนทุกข์ทรมานอยู่โรงพยาบาลนานขึ้นและผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้ การคัดเลือกผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดและการปรับปรุงการผ่าตัดสามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนและอัตราตายหลังผ่าตัดได้ อย่างไรก็ตามอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะตับวายภายหลังการผ่าตัดตับพบได้ตั้งแต่ 1.2 จนสูงถึง 32 % ดังนั้นควรศึกษาหาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตหลังผ่าตัด วิธีการวิจัย: ผู้วิจัยทำการคัดเลือกผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดตับออกเป็นจำนวนตั้งแต่ 2 segments ขึ้นไปณรพ.ราชวิถีตั้งแต่ม.ค. 2556 – ธ.ค. 2556 โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทั่วไปการทำงานของตับวัดค่า ICGR15 ประเมินปริมาตรตับบันทึกข้อมูลการผ่าตัดวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะตับวายภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตหลังผ่าตัด ผลการวิจัย : จากการศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดตับทั้งสิ้น 50 รายผู้ป่วยมีภาวะตับวายหลังผ่าตัดทั้งสิ้น 6 ราย (14.63%) ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนทั้งสิ้น 18 ราย (36%) และผู้ป่วยเสียชีวิตหลังผ่าตัด 2 รายจากภาวะตับวายหลังผ่าตัดโดยปัจจัยที่มีผลต่อภาวะตับวายคือจำนวน segment ที่ตัดปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนคือ ICG-R 15, ปริมาณเลือดที่ได้รับระยะเวลาผ่าตัดและการผ่าตัดมากกว่า 3 segments ขึ้นไปปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิตคือจำนวน segment ที่ตัดกรณีที่คิดด้วยmultivariated analysis มีเพียงระยะเวลาผ่าตัดที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนเท่านั้น (P-value = 0.02) และไม่มีปัจจัยใดที่มีผลต่อภาวะตับวายและการเสียชีวิต บทสรุป: การคัดเลือกผู้ป่วยก่อนผ่าตัดตับโดยการวัดค่า ICGR15 การลดการให้เลือดขณะผ่าตัดและการลดระยะเวลาการผ่าตัดสามารถช่วยป้องกันการเกิดตับวายการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตหลังผ่าตัดตับได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectตับth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดตับth_TH
dc.title.alternativeRisk factors for morbidity after liver resectionen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativePostoperative liver failure is a life-threatening complication after hepatic resection. Because of recent advances in liver surgery technique and a better patient selection, morbidity after hepatic resection has steadily decreased, but its incidence still ranges from 1.2% to 32%. The factors of postoperative liver failure, morbidity and early mortality in major hepatic resection in the modern era should be reevaluated. STUDY DESIGN:Demographics, extent of resection, liver fuction, ICGR15, liver volumetry, operative and transfusion data, complications, and hospital stay were analyzed for patients undergoing major hepatic resection(no less than bisegmentectomies) from January2013 to September 2013 at RajavithiHospital. Factors associated with morbidity and mortality and trends in preoperative and perioperative variables over the period of study were analyzed. RESULTS:Of 50 patients who underwent major hepatic resections, 6 patients (14.63%) developed postoperative liver failure after hepatectomy, 18 patients (36%) had morbidity and 2 patients (4%) died within 30 days postoperatively. Amount of segmentectomy was the significant risk factor for postoperative liver failure and 30-day mortality after major hepatectomy. ICGR15, blood transfusion operative time and more than 3 segmentectomies were the significant risk factors for morbidity. The only significant risk factor for morbidity by multivariated analysis were operative time. CONCLUSIONS:Careful patient selection based on ICGR concurrent with decreasing blood transfusion and decreasing operative time in major hepatectomy cases could help prevent the occurrence of postoperative liver failure, morbidity and 30 day mortality.en_US
dc.identifier.callnoWI770 ก322ผ 2558
dc.identifier.contactno57-023en_US
dc.subject.keywordการผ่าตัดth_TH
dc.subject.keywordภาวะแทรกซ้อนth_TH
.custom.citationกวิญ ลีละวัฒน์ and Kawin Leelawat. "ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดตับ." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4271">http://hdl.handle.net/11228/4271</a>.
.custom.total_download298
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year11

Fulltext
Icon
Name: hs2159.pdf
Size: 383.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record