Show simple item record

การวัดปริมาณน้ำตาลบนอัลบูมินเพื่อติดตามภาวะเบาหวาน ปีที่ 2

dc.contributor.authorเดือนเพ็ญ จาปรุงth_TH
dc.contributor.authorDeanpen Japrungen_EN
dc.contributor.authorภัทราพร ลักษณ์สิริกุลth_TH
dc.contributor.authorขุนเสก เสกขุนทดth_TH
dc.contributor.authorประภาศิริ พงษ์ประยูรth_TH
dc.contributor.authorชยาชล อภิวาทth_TH
dc.contributor.authorวิรียา เชาจิรพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorศศินี บุณยรัตพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorพิมพ์ณภัทร ปริมิตรth_TH
dc.contributor.authorจักรพงศ์ ศุภเดชth_TH
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ เนียมเจริญth_TH
dc.contributor.authorธิติกร บุญคุ้มth_TH
dc.date.accessioned2017-04-24T07:47:37Z
dc.date.available2017-04-24T07:47:37Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.otherhs2325
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4686
dc.descriptionประกอบด้วย 3 โครงการย่อย คือ 1. การพัฒนาการตรวจโปรตีนไกลเคทเตดอัลบูมินด้วยวิธีการใช้วัสดุกราฟีนร่วมกับแอปตาเมอร์ในผู้ป่วยเบาหวาน (Development of graphene based aptasensor for glycated albumin detection in Diabetes Mellitus) 2. การพัฒนาวิธีการตรวจไกลเคทเตดอัลบูมินเชิงปริมาณด้วยเทคนิคทางเคมีไฟฟ้าร่วมกับแอปตาเมอร์ (Development of Electrochemical Aptasensor for Glycated Albumin) 3. การตรวจภาวะไกลเคชั่นของอัลบูมินด้วยเครื่องตรวจวัดชนิดนาโนพอร์ (Simultaneous Detection of Albumin Glycation using Nanopore-sensor)th_TH
dc.description.abstractการติดตามภาวะเบาหวานทำได้ โดยการวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด ร่วมกับการวัดปริมาณน้ำตาลที่จับอยู่บนโปรตีนฮีโมโกลบิน (HbA1c) อย่างไรก็ตามการวัดปริมาณน้ำตาลทั้งสองแบบ ต่างก็มีข้อจำกัด เช่น การวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด ขึ้นอยู่กับอาหารที่รับประทานก่อนการตรวจวัด ดังนั้นต้องมีการงดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง ส่วนการวัดปริมาณน้ำตาลบนโปรตีนฮีโมโกลบิน ก็ขึ้นอยู่กับการสร้าง และลักษณะของฮีโมโกลบินด้วย ดังนั้นผู้ที่มีการสร้างฮีโมโกลบินที่ผิดปกติ (โรคธาลัสซีเมีย พาหะธาลัสซีเมีย และเลือดจาง) ก็จะทำให้ผลการตรวจวัดไม่น่าเชื่อถือด้วย การตรวจวัดปริมาณน้ำตาลบนโปรตีนอัลบูมิน หรือที่เรียกว่าไกลเคทเตดอัลบูมินจึงเป็นทางเลือกที่ใช้แก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น เนื่องจากไม่ต้องอดอาหารก่อนการตรวจวัด และใช้ตรวจวัดได้ในกลุ่มคนปกติ และผู้ที่มีปัญหาเรื่องการสร้างโปรตีนฮีโมโกลบิน ซึ่งมีมากถึง 40-50% ในกลุ่มประชากรไทยแผนงานวิจัยการวัดปริมาณน้ำตาลบนอัลบูมินเพื่อติดตามภาวะเบาหวาน เป็นการพัฒนาวิธีการตรวจวัดไกลเคทเตดอัลบูมินโดยการประยุกต์ใช้แอปตาเมอร์ที่จำเพาะต่อโปรตีนไกลเคทเตดอัลบูมิน ร่วมกับเทคโนโลยีการตรวจวัดอื่นๆ เช่น การตรวจวัดสัญญาณฟลูออเรสเซนต์ และสัญญาณทางเคมีไฟฟ้า และทีมวิจัยสามารถพัฒนาชุดตรวจ และวิธีการตรวจไกลเคทเตดอัลบูมินได้สำเร็จ โดยสามารถตรวจหาปริมาณไกลเคทเตดอัลบูมินทั้งจากตัวอย่างโปรตีนบริสุทธิ์ และตัวอย่างชีรัม/พลาสมา ของทั้งในคนปกติ และผู้ป่วยเบาหวานเมื่อใช้ตัวอย่างที่เก็บใหม่ โดยวิธีการตรวจพี่พัฒนาขึ้นนี้มีความไวและความจำเพาะสูงกว่าชุดตรวจทางการค้าที่ใช้เทคนิคอีไลซ่า ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะมีการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อนำไปผลิตเพื่อใช้งานจริงตามสถานพยาบาลth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectเบาหวานth_TH
dc.subjectระดับน้ำตาลในเลือดth_TH
dc.subjectdiabetesen_EN
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการวัดปริมาณน้ำตาลบนอัลบูมินเพื่อติดตามภาวะเบาหวาน ปีที่ 2th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeMeasuring of blood sugar and glycated hemoglobin (HbA1c) levels is a standard protocol for screening and monitoring of diabetes mellitus progression. However, blood sugar level is depending on food uptake before taking the measurement and HbA1c life cycle is somehow too tong to be monitored in severe cases. In addition, in condition effecting red blood cell structure or hemoglobin production (hemolytic anemia, thalassemia and thalassemia carrier (40-50%)), HbA1c level is not unrealizable. Therefore, measurementof glycated albumin, which is intermediated indicator outside red blood cell, could improve the way to control diabetes progression and treatment in all populations. The research program “Albumin glycation for diabetes mellitus monitoring” is focusing on development of aptasensor platform for detection of glycated albumin. Three platforms have been developed, which are graphene oxide-aptamer, electrochemical and nanopore sensors. In summary, we successfully developed graphene oxide aptamer and electrochemical platform to detect albumin, glycated albumin and percentage of glycated albumin in clinical samples. Both sensitivity and specificity of our graphene oxide-aptamer platform are higher than those of the commercial available (ELISA). Therefore, our platform has a potential for technology transfer and commercialization.en_EN
dc.identifier.callnoWK810 ด935ก 2560
dc.identifier.contactno59-006
.custom.citationเดือนเพ็ญ จาปรุง, Deanpen Japrung, ภัทราพร ลักษณ์สิริกุล, ขุนเสก เสกขุนทด, ประภาศิริ พงษ์ประยูร, ชยาชล อภิวาท, วิรียา เชาจิรพันธุ์, ศศินี บุณยรัตพันธุ์, พิมพ์ณภัทร ปริมิตร, จักรพงศ์ ศุภเดช, สุรศักดิ์ เนียมเจริญ and ธิติกร บุญคุ้ม. "การวัดปริมาณน้ำตาลบนอัลบูมินเพื่อติดตามภาวะเบาหวาน ปีที่ 2." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4686">http://hdl.handle.net/11228/4686</a>.
.custom.total_download70
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs2325.pdf
Size: 5.550Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record