Now showing items 1-11 of 11

    • การติดตามประเมินผลชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ 

      สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ; มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ (มสส.), 2559-06)
      การติดตามประเมินผลชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) โครงการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาทันตแพทย์และทีมทันตบุคลากรเพื่อดูแลสุขภาพช่องปากผู้พิการ ดำเนินการใน 3 จังหวัด (เชียงใหม่ ขอนแก่น และพิษณุโลก) ...
    • การทบทวนชุดสิทธิประโยชน์และการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ 

      ธีระ ศิริสมุด; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; สุรชัย โกติรัมย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ทรงยศ พิลาสันต์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-10)
      ปัจจุบันประเทศไทยมีคนพิการที่ขึ้นทะเบียนคนพิการประมาณ 1.5 ล้านคน และยังมีคนพิการจำนวนมากที่เข้าไม่ถึงบริการหรือสวัสดิการของรัฐ เช่น ไม่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ ทั้งที่มีความจำเป็น การที่คนพิการเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ...
    • ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร : เขตสุขภาพพื้นที่พิเศษ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; National Health Security Office; พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; ฉัตรทิพย์ วงษ์ปิ่นแก้ว; ธนภร ชัยจิต; ภาสกร สวนเรือง; เขมจรีย์ โรจนพรทิพย์; ปิยะฉัตร สมทรง; พัฒนาวิไล อินใหม; วีระพันธ์ ลีธนะกุล; บุษกร สุรรังสรรค์; ภัทรภร กาญจโนภาส; อมาวศรี เปาอินทร์; บุญสิงห์ มีมะโน; ภัทรภร ธนธัญญา; จุไรพร นรินทร์สรศักดิ์; อภิวรรณ พลอยฉาย; กฤตพร จันคณา; ปานใจ ตันติภูษานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-02)
      รายงาน “ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร : เขตสุขภาพพื้นที่พิเศษ” ฉบับนี้ เป็นการสังเคราะห์ความรู้ความคิดเห็นจากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการจัดทำข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริห ...
    • ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร : เขตสุขภาพพื้นที่พิเศษ 

      สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), 2561-03)
      สืบเนื่องจากการประชุมหารือของหน่วยบริการภาคเอกชนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากประเด็นปัญหาปีงบประมาณ 2560 อัตราการจ่ายชดเชยค่าบริการผู้ป่วยในลดลง ส่งผลให้หน่วยบริการภาคเอกชนในกรุงเทพมหานครขอถอนตัว ...
    • พรมแดนใหม่ของหมอฟันธรรมดา รายงานการถอดบทเรียนชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ 

      อภิญญา ตันทวีวงศ์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ (มสส.), 2559-04)
      การดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ มันเป็นเรื่องที่ถูกจัดให้ความสำคัญในลำดับรอง หรือลำดับท้ายๆ สำหรับการวางแผนการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อาจเป็นเพราะว่าบุคลากรทั้งหลายมักจะมุ่งให้การดูแลฟื้นฟูเรื่องสำคัญใหญ่ๆ เช่น ...
    • รายงานประจำปี 2556 : สถานการณ์ระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      พัชนี ธรรมวันนา; ณัฐินี บัณฑะวงศ์; แสงจันทร์ ชาติประสิทธิ์ (สำนักงานเขตบริการสุขภาพ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร และ สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2557-04)
      สำนักตรวจราชการกระทรวง เขตพื้นที่เครือข่ายบริการส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี (2556–2560) เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีคณะกรรมการบริหารจัดการระบบสุขภาพเขตพื้น ...
    • รายงานประจำปี 2557 : สถานการณ์ระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      รายงานสถานการณ์ระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2557 ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ที่มีภารกิจเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้บริหารงานด้านการแพทย์และการสาธารณสุขทุกระดับทุกสังกัดหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ...
    • รายงานอนามัยโลก ประจำปี 2553 : การคลังระบบสุขภาพ 

      วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การแปลรายงานสุขภาพโลกปี 2553 ฉบับนี้เกิดขึ้นโดยความสมัครใจของคณะบรรณาธิการทุกท่านที่ทุ่มเทการทำงานด้วยความตั้งใจโดยใช้ความรู้และพละกำลังอย่างเต็มความสามารถในการถอดรายงานภาษาอังกฤษมาเป็นภาษาไทยให้ดีที่สุด เนื่องจากมีความเ ...
    • แนวปฏิบัติบริการสาธารณสุข (Quick reference guide) : สำหรับการรักษาผู้ป่วยทั่วไป 

      สำนักงานโครงการพัฒนาแนวทางการบริการสาธารณสุข (สำนักงานโครงการพัฒนาแนวทางการบริการสาธารณสุข, 2549-04)
      ในช่วงระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา ความรู้ทางการแพทย์และสาธารณสุขมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งจากในประเทศและจากต่างประเทศ ส่งผลให้แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์อาจเกิดปัญหาในการติดตามวิทยาการใหม่ๆ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ใ ...