แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ประสิทธิผลของบริการการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานี

dc.contributor.authorยศ วัชระคุปต์th_TH
dc.contributor.authorYos Vajraguptaen_EN
dc.contributor.authorวรรณภา คุณากรวงศ์th_TH
dc.contributor.authorWannapha Kunakornvongen_EN
dc.contributor.authorพสิษฐ์ พัจนาth_TH
dc.contributor.authorPhasith Phatchanaen_EN
dc.contributor.authorสาวิณี สุริยันรัตกรth_TH
dc.contributor.authorSavinee Suriyanratakornen_EN
dc.date.accessioned2018-12-28T02:51:41Z
dc.date.available2018-12-28T02:51:41Z
dc.date.issued2561-12
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 12,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2561) : 608-624th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5000
dc.description.abstractการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุส่งผลให้ประเทศไทยต้องเตรียมพร้อมในด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในด้านการดูแลด้านสุขภาพ เนื่องจากผู้สูงอายุจะมีสุขภาพที่ถดถอยลง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ 2559 จำนวน 600 ล้านบาท สำหรับโครงการ “ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” (Long-term care: LTC) ในพื้นที่นำร่อง การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิผลของการให้บริการการดูแลระยะยาวภายใต้โครงการดังกล่าวในจังหวัดอุดรธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลผู้สูงอายุจำนวน 405 คน จำแนกเป็นผู้สูงอายุที่ได้รับบริการแบบปกติ (กลุ่มควบคุม) จำนวน 261 คน และภายใต้โครงการ LTC (กลุ่มทดลอง) จำนวน 144 คน ซึ่งได้รับบริการการดูแลระยะยาวภายใต้แผนการดูแล (care plan) เช่น การตรวจวัด vital sign การดูแลกิจวัตรประจำวัน การทำกายภาพบำบัด ทั้งนี้ การวิเคราะห์ประสิทธิผลของโครงการ LTC วัดจากคะแนนเฉลี่ยดัชนีบาร์เธลความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Barthel activities of daily living: Barthel ADL) ของผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่ได้รับบริการการดูแลระยะยาวเป็นเวลาประมาณ 4 เดือน การศึกษาพบว่า การให้บริการการดูแลระยะยาวทั้งในรูปแบบปกติและภายใต้โครงการ LTC ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีศักยภาพในการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้มากขึ้น โดยกลุ่มทดลองที่ได้รับบริการภายใต้โครงการ LTC มีคะแนน Barthel ADL เฉลี่ยดีขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ประมาณ 1 คะแนน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโครงการ LTC มีประสิทธิผล ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ดีขึ้นและสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดูแลระยะยาวลงได้ถึง 5.7 ล้านบาทด้วยต้นทุนการให้บริการ 7.2 แสนบาท ภาครัฐจึงควรสนับสนุนให้มีระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่บ้านโดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมในระบบการดูแลระยะยาวของภาคส่วนต่างๆ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectElderlyth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลระยะยาวth_TH
dc.subjectLong-Term Careth_TH
dc.subjectLong-Term Care--agedth_TH
dc.titleประสิทธิผลของบริการการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeAn Effectiveness Analysis of the Long-Term Care Plans in Udon Thani Provinceen_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeAs Thailand enters ageing society, it is increasingly necessary to be economically and socially prepared. The health care system deserves particular attention for the reason that elderly’s health tends to deteriorate overtime. In this regard, in fiscal year 2016, the National Health Security Office (NHSO) allocated 600 million baht for the “Long-term Care System for Dependent Elderly (LTC)” program. The objective of this study was to analyse the effectiveness of long-term care services under the LTC program in Udon Thani province. The study examined a total of 405 elderly who received long-term care services. The participants were divided into two groups: a control group of 261 elderly who received regular services; and an intervention group of 144 elderly who were under the LTC program. The elderly participated in the LTC program received long-term care services according to care plan provided by care manager. The services included vital sign measurement, Barthel activities of daily living (Barthel ADL) care, and physical therapy. After four months of receiving long-term care services, the effectiveness of the LTC was analyzed based on the average Barthel ADL index of both groups of participants. The study found that both regular services and LTC program encouraged the elderly to be more independent in performing activities of daily living. Specifically, the intervention group has significantly higher Barthel ADL index than that of the control group (p<0.05) by approximately 1 point. This difference suggests that the LTC program was likely to be more effective than the regular program. In addition, the LTC program was more cost-saving than regular services. The LTC program costed only 0.72 million baht, saving the intervention group’s costs of care by approximately 5.7 million baht. The results suggested that the government should support the LTC service and encouraged participation from various societal sectors, ranging from family, communal, local, to governmental levels.en_EN
.custom.citationยศ วัชระคุปต์, Yos Vajragupta, วรรณภา คุณากรวงศ์, Wannapha Kunakornvong, พสิษฐ์ พัจนา, Phasith Phatchana, สาวิณี สุริยันรัตกร and Savinee Suriyanratakorn. "ประสิทธิผลของบริการการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานี." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5000">http://hdl.handle.net/11228/5000</a>.
.custom.total_download6273
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month92
.custom.downloaded_this_year334
.custom.downloaded_fiscal_year760

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v12n ...
ขนาด: 726.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย