แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556 - 2560

dc.contributor.authorสุณี วงศ์คงคาเทพth_TH
dc.contributor.authorSunee Wongkongkathepen_US
dc.contributor.authorวิภา ด่านธำรงกูลth_TH
dc.contributor.authorVipa Danthamrongkulen_US
dc.contributor.authorอำนวย ภูภัทรพงศ์th_TH
dc.contributor.authorAmnuay Phoophattarapongen_US
dc.contributor.authorชัยรัชต์ จันทร์ตรีth_TH
dc.contributor.authorChairach Jantreeen_US
dc.contributor.authorกุลพร สุขุมาลตระกูลth_TH
dc.contributor.authorKunlaporn Sukumaltakunen_US
dc.contributor.authorสุพิชชา วงค์จันทร์th_TH
dc.contributor.authorSupitcha Wongchanen_US
dc.date.accessioned2019-01-03T04:27:58Z
dc.date.available2019-01-03T04:27:58Z
dc.date.issued2561-12
dc.identifier.otherhs2460
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5006
dc.description.abstractการประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556–2560 คือ มาตรการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มาตรการองค์กรไร้พุง และมาตรการคลินิก DPAC วัตถุประสงค์การศึกษา คือ ประเมินผลความคิดเห็นต่อนโยบาย ระบบการสนับสนุน กระบวนการดำเนินการ ผลลัพธ์การดำเนินการและปัจจัยที่ทำให้กระบวนการดำเนินการประสบความสำเร็จและไม่สำเร็จของทั้ง 3 มาตรการ สถานการณ์และการทบทวนวรรณกรรม สถานการณ์น้ำหนักเกินโรคอ้วนและโรค NCD ในประเทศไทย พบว่าประชากรวัยทำงานร้อยละ 48 มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ปัญหานี้มีการขยายตัวอย่างชัดเจนในระยะเวลาสองทศวรรษที่ผ่านมา เป็นปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพอันดับสอง ส่งผลกระทบต่อระบบบริการสุขภาพ ระบบเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศมูลค่าประมาณ 12,000 ล้านบาทต่อปี จากการทบทวนการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มวัยทำงานในประเทศต่างๆ ทุกประเทศมีนโยบายชาติด้านส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานและมีแผนยุทธศาสตร์นโยบายและตัวชี้วัดความสำเร็จที่ชัดเจน แต่ละประเทศได้กำหนดนโยบายการขับเคลื่อน ที่เน้นไปที่การจัดกิจกรรมทางกาย การบริโภคอาหารที่เหมาะสม การจัดสภาพแวดล้อมในสถานที่ทำงานและชุมชนให้เอื้อต่อสุขภาพ ด้วยการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เน้นขับเคลื่อนในสถานประกอบการ โดยสร้างการมีส่วนร่วมของเจ้าของกิจการและพนักงานให้ความตระหนักต่อสุขภาพ ร่วมการออกแบบกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่สัมพันธ์กับบริบทและความต้องการของพนักงาน การสร้างระบบสนับสนุนกิจกรรมและมีระบบติดตามประเมินผล ขณะเดียวกันมีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำและประชาชนในพื้นที่ในการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Promotionth_TH
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic health administrationth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556 - 2560th_TH
dc.title.alternativeEvaluation of the implementation of three working age health promotion policy interventions during 2013-2016en_US
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study is aimed at implementation evaluation of the three core interventions in health promotion among adult population during 2556-2560 BE which include projects of Health Promoting Hospital, Flat-belly workplace, and DPAC Clinic. Evaluation includes policy implication, supportive measure, implementation, outputs and outcomes as well as key success factors. Situation analysis and literature review Review situation of NCD in Thailand shows that prevalence of overweight including obesity has been obviously increasing during the past two decades and currently reaches 48% among adult population. Thus creates burden on health service delivery and overall socio-economic status of the country, with estimate of annual economic loss of 12,000 THB. Comparative review in different countries emphasized national policies and strategies with key indicators which are mostly focused on promoting physical activities, proper diet, workplace environment and healthy community. Stakeholder engagement and partnership is the key factor, particularly in the workplace where employer and employees are mutually aware of and participate in health promoting activities. At community level, role of local governments as well as community leaders and organizations are undoubtedly crucial.en_US
dc.identifier.callnoW84.1 ส764ก 2561
dc.identifier.contactno60-068
.custom.citationสุณี วงศ์คงคาเทพ, Sunee Wongkongkathep, วิภา ด่านธำรงกูล, Vipa Danthamrongkul, อำนวย ภูภัทรพงศ์, Amnuay Phoophattarapong, ชัยรัชต์ จันทร์ตรี, Chairach Jantree, กุลพร สุขุมาลตระกูล, Kunlaporn Sukumaltakun, สุพิชชา วงค์จันทร์ and Supitcha Wongchan. "การประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556 - 2560." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5006">http://hdl.handle.net/11228/5006</a>.
.custom.total_download202
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year7

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2460.pdf
ขนาด: 2.868Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย