Now showing items 1776-1795 of 2309

    • ภาคีเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; สุชาดา ตั้งทางธรรม; Lukana Termsirikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ภาคเอกชนกับการให้บริการสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย 

      วาทินี บุญชะลักษี; Watinee Boonchaluksi; ยุพิน วรสิริอมร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ความต้องการบริการสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้นเป็นลำดับ เนื่องจากประชากรกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มที่จะมีอายุยืนยาวขึ้น ความต้องการที่เพิ่มขึ้นไม่สอดคล้องกับหน่วยงานหรือสถานบริการของภาครัฐที่ให้บริการ ...
    • ภาพรวมของระบบบริการที่พึงประสงค์ในทัศนะผู้ทรงคุณวุฒิ 

      เกษม วัฒนชัย; Kasem Wattanachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Pasakorn Srithipsukho (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      ส่วนใหญ่ของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบหืดและหายใจมีเสียงวี๊ดในการศึกษานี้ จะมีอายุน้อยกว่า 2 ปี และมักพบในเด็กชายมากว่าเด็กหญิง สารก่อภูมิแพ้จากไข่ขาวและนมวัว เป็นสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยในเด็กกลุ่มนี้ จากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ...
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี๊ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาลและมุมมองผู้ป่วย การศึกษานี้เก็บข้ ...
    • ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวี้ด 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; อารยา ศรัทธาพุทธ; ศิริกุล มะโนจันทร์; กล่องทิพย์ มัชฌิมดำรง; ศศวรรณ ชินรัตนพิสิทธิ์; วิศรุต การุญบุญญานันท์; จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์; สุชาดา ศรีทิพยวรรณ; พรรณทิพา ฉัตรชาตรี; นริศรา สุรทานต์นนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี้ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนซึ่งนอนโรงพยาบาล ภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาล และมุมมองผู้ป่วย ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีความประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงในการติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเวลา ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีคว ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ต่อเนื่องปีที่ 3 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในอดีตพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ...
    • ภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชาชนไทยในปี พ.ศ. 2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)
      ในการวัดสถานะสุขภาพของประชาชนไทยแบบองค์รวม ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเครื่องชี้วัดภาระโรค (Burden of Disease) ของคนไทยนั้น คิดมาจากความสูญเสียที่เกิดมาจากการตายก่อนวัยอันควรและความสูญเสียจากการเจ็บป่วยหรือพิการ โดยเรามักจะเข้า ...
    • ภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-02)
      ผลการศึกษาของโครงการศึกษาพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทยพบว่าภาระทางสุขภาพจากโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 สรุปได้ดังต่อไปนี้ การคาดประมาณอายุขัยเฉลี่ยประชากรไทยปี พ.ศ. ...
    • ภาระโรคในคนไทยและแนวคิดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      จิตร สิทธีอมร; Chirt Sitthi-Amorn; วัฒนา ส.จั่นเจริญ (วิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
      ภาระโรคในคนไทยและแนวคิดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระยะสิบกว่าปีที่ผ่านมา มีรายงานเรื่องภาระโรคของประชากรในประเทศไทยหลายฉบับที่พยายามรวบรวมข้อมูล ทั้งหมดเท่าที่พบ เช่น รายงานของคณะกรรมการระบาดวิทยาแห่งชาติ, ...
    • ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลในประเทศไทย (โครงการนำร่อง) 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; Pataphong Ketsomboon; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Supasit Panarunothai; Weerasak Jongsuwiwanwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นสิ่งที่สร้างความสูญเสียให้แก่ทั้งผู้ป่วย ญาติ ผู้ให้บริการและระบบบริการสุขภาพของประเทศ เป็นสิ่งที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น แต่บางครั้งอาจจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ...
    • ภาวะสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ : ทบทวนวรรณกรรม 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล; Siriporn Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      รายงานต่อไปนี้มีเป้าหมายเพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุในแง่มุมของสุขภาพอนามัย ภาวะทางประชากรศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคม สังเคราะห์ให้เห็นความเชื่อมโยงของข้อมูล ปัญหาและปฏิบัติการแก้ปัญหา โดยใช้แหล่งข้อมูลจากผลการวิจัยต่างๆ ...
    • ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom; วิทักษ์ วิทักษบุตร; Withak Withaksabut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ โดยศึกษาแบบ ...
    • ภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (อุษาการพิมพ์, 2547)
      ภูมิปัญญาไทย สุขภาพวิถีไท เป็นหนังสือรวบรวมผลงานการศึกษา 5 ประเด็นหลัก ในการประชุมวิชาการประจำมีการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก พ.ศ. 2547 ได้แก่ 1. ทิศทางและยุทธศาสตร์การสร้างและการจัดการองค์ความ ...
    • มองไกล วิจัยสุขภาพ 

      อินทิรา ยมาภัย; ศิตาพร ยังคง; สุธาสินี คำหลวง; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา คำดี; ทรงยศ พิลาสันต์; คณาภรณ์ ธนูธรรมเจริญ; ธนพร บุษบาวไล; สรัญญา ใจกล้า; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-09)
      ระบบสุขภาพเป็นกลไกในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ความรู้ที่ได้จากการวิจัยสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสุขภาพได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยด้านสุขภาพของประเทศไทยมักจะดำ ...
    • มะเร็งและมลพิษจากอุตสาหกรรม : ผลวินิจฉัยการตรวจสอบคนงาน กรณีวิกฤตมะเร็งเม็ดเลือดขาวและโรคมะเร็งบริเวณ Wollongong 

      จิตสิริ ธนภัทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-07)
      การตรวจสอบคนงานกรณีวิกฤตมะเร็งเม็ดเลือดขาวและโรคมะเร็งบริเวณ Wollongong จัดขึ้นที่ Port Kembla ช่วงสุดสัปดาห์ระหว่างวันที่ 19-20 กรกฎาคม ค.ศ.1997 คณะกรรมการตรวจสอบ 6 คน ได้สรุปว่า 1. การเสียชีวิตจำนวนมากเนื่องจากมะเร็งเม็ดเลือดขาว ...
    • มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด 

      ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ (โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด, 2551-10)
      การวิจัยเชิงเอกสารนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด ผลการศึกษา พบว่า สารเสพติดแต่ละประเภทมีอันตรายและความจำเป็นในทางการแพทย์ต่างกัน พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ...