Now showing items 1482-1501 of 2309

    • ชายรักชาย 

      สุพร เกิดสว่าง; Suporn Koetsawang (สามเจริญพาณิชย์, 2546)
      หนังสือเรื่อง ชายรักชาย เล่มนี้ สำเสนอเรื่องนี้เพื่อให้สังคมเข้าใจชาย รักร่วมเพศ หรือ ชายรักชาย รวมทั้งให้ชายรักร่วมเพศเองเข้าใจตนเองดีขึ้น เพื่อให้สังคมเปลี่ยนจากสังคม Homophobia เป็นสังคมที่เข้าใจและยอมรับชายรักร่วมเพศ ...
    • ชีวิต สุขภาพ และ การเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมือง: การศึกษากลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานย้ายถิ่นในกรุงเทพมหานคร 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมืองในประเทศไทย และเพื่อศึกษาพัฒนาโจทย์วิจัยทางด้านสุขภาพ และการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเ ...
    • ชีวิตคู่(ไม่)รู้กัน 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2546)
      ครอบครัวเป็นแหล่งหล่อหลอมกล่อมเกลาและฟูมฟักให้ผู้คนพัฒนาทักษะทางสังคมและจิตวิญญาณ เป็นฐานรากสำหรับก่อสร้างรูปลักษณ์ของคนในสังคมรุ่นต่อๆ ไป งานวิจัยนี้เจาะลึกถึงอดีตที่บ่มเพาะจิตใจและทัศนะทางสังคมของคนจริงๆ ในสังคม ...
    • ชีวิตและสุขภาพของเด็กต่างด้าวและการเข้าถึงบริการสาธารณสุข 

      ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหา สาเหตุและแนวทางการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสังคม มีเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการเกื้อกูล ไม่ทอดทิ้งกัน โดยผ่านชุดการวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย ...
    • ชุดความรู้ที่สัมพันธ์กับมิติจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) ที่เกี่ยวข้องกับทางสุขภาพ 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ...
    • ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการนำเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิรูประบบสาธารณสุขของจังหวัดภายใต้โครงการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่ได้รับการสนับสนุ ...
    • ชุมชนกับการคัดกรองโรคเบาหวาน 

      รัชฏาพร รุญเจริญ; Ratchadaporn Runcharoen; อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์; จำนันต์ ผิวละออ; ประนอม พริยานนท์; ภัทรพล คันศร; เลียง อุปมัย; ธีรพล เศรษฐศรี; แจ่มจันทร์ ศรีนัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      มาตรการหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมโรคเบาหวานคือ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ณ สถานบริการสุขภาพ จากจำนวนผู้ป่วยที่มีรายงานต่ำกว่าพื้นที่อื่นๆ ของหมู่บ้านสนามแจ้ง ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ โรงพยาบาลขุนหาญจึงได้ทำการศึกษาการมีส่วนร่วมของ ...
    • ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ : กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของประเทศไทย 

      ทานาเบ, ชิเกฮารุ; Tanabe, Shikeharu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      หนังสือเล่มนี้ เป็นการศึกษาทางด้านมานุษยวิทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจกับความพยายามในการดำรงไว้ซึ่งการมีชีวิตและสุขภาพที่ดีของตนเองเมื่อต้องเผชิญกับความเจ็บป่วยและความทุกข์ภายใต้สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของร ...
    • ชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร 

      วิเชียร อันประเสริฐ; Wichean Unprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาเรื่องชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรครั้งนี้ เป็นงานศึกษาโดยใช้วิธีการสืบคืนข้อมูลจากการพูดคุยกับชาวบ้านในฐานะที่เป็นเกษตรกรที่ทำการผลิตในระดับชุมชน โดยเน้นไปที่เกษตรกรในฐานะผู้ใช้สารเคมี การศึกษาครั้งนี้เป็น ...
    • ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 

      กิติศักดิ์ เกษตรสินสมบัติ; Kittisak Khasetsinsombat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี หมู่บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะเด็กขาดสารอาหาร ในเด็ก 0 – 5 ปี ของบ้านน้ำคา ระดับ 1 ไม่เกินร้อยละ ...
    • ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 2 

      ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์; Tawanchai Jirapramukpitak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และสังคมจากการป่วยทางจิตเวชเรื้อรังระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ และรักษาล่าช้า ระหว่างผู้ที่ป่วยตั้งแต่อายุน้อยและอายุมากและระหว่างผู้ที่ป่วยมานานและไม่นาน ...
    • ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์: การศึกษาระยะยาวในชุมชน 

      ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      วัตถุประสงค์ 1) เพื่อค้นหาความชุกของปัญหาจิตเวชที่พบบ่อยและมีภาระโรคสูงในชุมชน เช่น โรคซึมเศร้า ประสบการณ์อาการโรคจิต ความผิดปกติพฤติกรรมการดื่มสุราและสารเสพติด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพจิต 3) ...
    • ฐานคติเรื่องเพศวิถีในนโยบายเรื่องโรคเอดส์ของรัฐไทย 

      ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์; Chalidaporn Songsamphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      แบบแผนการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศไทยที่การแพร่กระจายของโรคเป็นไปโดยผ่านการร่วมเพศ/มีเพศสัมพันธ์ ทำให้แนวนโยบายเอดส์เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องเพศของคนในสังคม ซึ่งมาตรการหลักที่กระทำอย่างต่อเนื่องเป็นเรื่องของการพยายามทำ ...
    • ดอกไม้ราตรี สินค้ามีชีวิต 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ดอกไม้ราตรี สินค้ามีชีวิต เป็นผลงานการศึกษาชีวิตของคนไทยที่ดำรงชีพซ่อนเร้นอยู่ในมุมมืดของสังคมที่ยากกว่าคนส่วนใหญ่จะเข้าใจได้ สารคดีเชิงวิเคราะห์สังคมเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจและตระหนักในความเป็นมนุษย์ของคนเหล่านี้ ...
    • ดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      วัตถุประสงค์หลักของรายงานนี้คือ พยายามวิเคราะห์ถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพยายามลงไปถึงด้านปรัชญา แนวคิด การตีความและข้อจำกัดของดัชนีเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีที่ม ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      การดำเนินโครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อส่งเสริมให้การดำเนินงานบริหารจัดการงานวิจัยให้โปร่งใส ...
    • ดัชนีชี้วัดเพื่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประชาชนไทย 

      สรพงษ์ วิชกูล; Sorapong Wichakul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      เพื่อจัดทำตัวชี้วัดทางสุขภาพในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน และความสำเร็จในระบบหลักประกันสุขภาพทั้ง 3 ระบบ (ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว และระบบประกันสังคม) จากฐานข้อมูลผู้ป่วยใน ...
    • ดัชนีวัดภาวะสุขภาพ : กลุ่มดัชนีพื้นฐานทางประชากร 

      ปราโมทย์ ประสาทกุล; Pramote Prasartkul; Patama Vapattanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ดัชนีชี้วัดสุขภาพเล่มนี้ เป็นการรวบรวมกลุ่มดัชนีพื้นฐานทางประชากร ซึ่งมีความสำคัญในการวัดภาวะสุขภาพใน 2 ลักษณะ คือ 1. นำมาสร้างเป็นดัชนีทางประชากรเพื่อชี้วัดขนาด โครงสร้าง และการเปลี่ยนแปลงของประชากร 2. ใช้ข้อมูลประชากรเ ...
    • ดัชนีสถานะสุขภาพเชิงลบ 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; Yawarat Porapakkham; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      องค์การอนามัยโลกได้ให้ความหมายของคำว่า "สุขภาพ" ว่าเป็นภาวะที่สมบูรณ์ทั้งด้านกาย จิต สังคม และปัญญา ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคหรือความเจ็บป่วยเท่านั้น ซึ่งจากนิยามมองดูเป็นนามธรรมและยากที่จะวัดผลได้ เพราะการวัดสถานะสุขภาพของป ...
    • ดัชนีเศรษฐศาสตร์มหภาคเพื่อวัดความเป็นธรรมทางการคลังและการใช้บริการสาธารณสุขระหว่างปี 2529-2541 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ดัชนีเศรษฐมหภาคเพื่อวัดความเป็นธรรมทางการคลังและการใช้บริการสาธารณสุข ระหว่างปี พ.ศ. 2529-2541 เมื่อนโยบายสาธารณสุขวางไว้อย่างชัดเจนว่าต้องการบรรลุความเป็นธรรมทางสุขภาพ ดัชนีวัดความเป็นธรรมก็จะมีความสำคัญในการเฝ้าติดตามเ ...