Now showing items 1531-1550 of 2313

    • ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Kitti Sanitwankul; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อนึ่งการจัดกลุ่มผู้ป่วยทางจิตเวชเพื่อจัดสรรทรัพยากร ...
    • ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดอักเสบเรื้อรัง เป็นต้น กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งในประเท ...
    • ต้นแบบการใช้แอปพลิเคชันคุณลูกเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กที่คลินิกสุขภาพเด็กดี 

      รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul; ผกากรอง ลุมพิกานนท์; Pagakrong Lumbiganon; สุมิตร สุตรา; Sumitr Sutra; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ด้านพัฒนาการของเด็กไทยช่วงวัย 0-5 ปี พบว่า มีเด็กที่สงสัยว่าพัฒนาการล่าช้าถึงร้อยละ 26 ส่วนเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีภาวะสูงด ...
    • ต้นแบบร่างข้อกำหนดของการจัดบริการขั้นต่ำที่จำเป็นและแนวทางการตรวจประเมินบริการในกลุ่มผู้ป่วยระยะท้าย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; ภรเอก มนัสวานิช; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; พรทิพย์ ปรีชาไชยวิทย์; พิมพ์ณิชา เทพวัลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      การบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตในระยะท้าย (Hospice Care) เป็นการดูแลรักษาผู้ป่วยแบบประคับประคอง โดยมิได้มีจุดมุ่งหมายเพียงเพื่อรักษาโรคของผู้ป่วยเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการให้การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ด้วยวิธีการรักษาแบบองค์รวม ...
    • ถอดบทเรียนการนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยมาใช้ในประเทศไทย 

      นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; Yodying Punjasawadwong; จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ; Jittaporn Chitreecheur; นเรนทร์ โชติรสนิรมิต; Narain Chotirosniramit; สมใจ ศิระกมล; Somjai Sirakamon; ปาริชาติ ภัควิภาส; Parichat Pakvipas (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      การถอดบทเรียน เรื่อง การนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยมาใช้ในประเทศไทย เป็นกระบวนการอย่างหนึ่งในการจัดการความรู้ เป็นการค้นหาความรู้จากการปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติ และนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒ ...
    • ถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; ภัทรธิดา ฟองงาม; Pattaratida Fong-ngam; ขัตติยา เสมอภพ; Khattiya Samerpop; ไมซาเร๊าะ ขุนรักษ์ หมานระเด็น; Maisaroh Khunrak Manraden; ฮัสสัน จิตรบรรทัด; Hassan Jitbantad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังคนด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านและกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพขึ้นโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การศึกษาครั้งนี้มีว ...
    • ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      ปรีดา แต้อารักษ์; Preeda Tae-arak; นิภาพรรณ สุขศิริ; รำไพ แก้ววิเชียร; กิรณา แต้อารักษ์; Niphapan Suksiri; Rampai Kaeowwichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      จากการทบทวนพบว่า การดำเนินการถ่ายโอนงานสาธารณสุขล่าช้า ขาดการเตรียมความพร้อมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อบจ.) ยังไม่มีโครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขขอองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ชั้น 1 และเทศบาล เท่านั้นที่มีส่วนสาธา ...
    • ทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์การพัฒนาระบบสุขภาพในประเทศสิงคโปร์ เริ่มมีการพัฒนาเต็มที่ตั้งแต่สิงคโปร์มีการเลือกตั้งรัฐบาลบริหารของตนเองเมื่อปี ค.ศ.1959 โดยการดำเนินการทางด้านสาธารณสุขเพื่อลดปัญหาโรคระบาด ...
    • ทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศ ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ 

      ศูนย์สารสนเทศและวิจัยระบบยา (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2550)
      ศึกษาทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศไทย ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ ได้แก่ องค์การอนามัยโลก สหภาพยุโรป แคนาดา สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย
    • ทบทวนประสิทธิผลและแนวทางการรักษาโรคกระดูกพรุนของกลุ่มยารักษาโรคกระดูกพรุน 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-05)
      โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่มวลกระดูกต่ำร่วมกับการเสื่อมของโครงสร้างระดับจุลภาคของกระดูกเป็นผลให้กระดูกมีความเปราะบาง ซึ่งเสี่ยงต่อการหักได้ง่าย โดยเฉพาะตำแหน่งของกระดูกสะโพก กระดูกสันหลัง และกระดูกข้อมือ การวินิจฉัยโรคกระดู ...
    • ทบทวนมาตราการและนโยบายด้านเพศภาวะและเอดส์ในประเทศไทย 

      วิระดา สมสวัสดิ์; Virada Somswasdi (Women's Studies Center, Faculty of Social Sciences, Chiangmai University, 2547)
      การศึกษานี้มุ่งศึกษาทบทวนทบทวนมาตราการและนโยบายด้านเพศภาวะและเอดส์ในประเทศไทย ผู้เขียนตั้งสมมุติฐานว่า การจัดการปัญหาโรคเอดส์และการแพร่ระบาดของเอชไอวี/เอดส์ นั้นเป็นประเด็นเกี่ยวข้องกับอคติของสังคมที่มีต่อกลุ่มคนชายขอบเช่น ...
    • ทบทวนระบบส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งของศูนย์รังสีวิทยา ภายใต้ความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลราชบุรี ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 

      ประพัฒน์ สุริยผล; Parpat Suriyaphol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ปัจจุบันการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาระบบหรือ e-health ซึ่งริเริ่มโดยองค์การอนามัยโลก ที่ต้องการใช้ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการให้บริการด้านสุขภาพและเชื่อมโยงระหว่างผู้ป่วยกับผู้ให้บริ ...
    • ทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      วัชรี โชคจินดาชัย; Watcharee Chokejindachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      The effective control of infectious diseases is seriously threatened by the sustained increase in the number of antimicrobial resistant microorganisms. Once resistance has emerged in a population, it can spread geographically. ...
    • ทบทวนสถานการณ์ปัญหาของระบบคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และศึกษากรณีตัวอย่างของผู้ประสบภัยจากรถ 

      มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค (2551)
      การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเริ่มเกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ซึ่งเป็นระบบการประกันภัยภาคบังคับ กําหนดให้เจ้าของรถหรือผู้ครอบครองรถทุกคันที่ใช้อยู่ต้องทําประกั ...
    • ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์; Misnistry of Public Health. Bureau of Health Policy and Strategy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      พรเทพ เกษมศิริ; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; ภาธร ภิรมย์ไชย; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพัฒนาระบบทะเบียนการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประเทศไทย ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะในเวลา 5 ปี ประกอบด้วย ระยะที่ 1 เป็นการสร้างความร่วมมือกำหนดแนวทางมาตรฐานการให้บริการ ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 2 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; พรเทพ เกษมศิริ; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 3 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; ขวัญชนก ยิ้มแต้; พรเทพ เกษมศิริ; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; เสาวรส ภทรภักดิ์; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; สุวิชา แก้วศิริ; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; สุรเดช จารุจินดา; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; มานัส โพธาภรณ์; ดาวิน เยาวพลกุล; นภัสถ์ ธนะมัย; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; วันดี ไข่มุกด์; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมุทร จงวิศาล; สุวัจนา อธิภาส; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; ตุลกานต์ มักคุ้น; นิชธิมา ฉายะโอภาส (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ...
    • ทะเบียนผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 

      จาดศรี ประจวบเหมาะ; Chadsri Phajuabmo; กัมปนาท วีรกุล; รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์; Kamphanat Weerakul; Rangsarit Khanchanawanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการทะเบียนผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ก่อตั้งขึ้นเพื่อศึกษาทางระบาดวิทยาการดําเนินโรคทางคลินิก ประเมินมาตรฐานการักษาโรคกกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในประเทศไทย โดยเริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ...