Now showing items 1-20 of 41

    • Thai drug system : a situation analysis for further development 

      Technical working group for analysis of the Thai drug system (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 1995)
    • การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ...
    • การควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-25)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยประเด็นวิชาการ เศรษฐกิจ และสังคม เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ ...
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การประเมินการใช้ยา Cefotaxime ในโรงพยาบาลโพธาราม 

      สุพรชัย กองพัฒนากูล; Supornchai KongPattakul; ปนิจ สมหอม; อุษา พาณิชปฐมพงศ์; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; สมบูรณ์ นันทานิช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การประเมินการใช้ยา Cefotaxime ในโรงพยาบาลโพธารามCefotaxime เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่ม third generation cephalosporin มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้อย่างกว้างขวาง ทั้งเชื้อแกรมบวก แกรมลบ และเชื้อไม่พึ่งออกซิเจนบางตัว โดยเฉพาะการฆ่าเชื้ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ...
    • การพัฒนากลไกสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระยะที่ 1 

      นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      การใช้ยาไม่สมเหตุผล ทั้งในสถานพยาบาลรัฐและเอกชน รวมถึงการซื้อยากินเองจากแหล่งกระจายยาไม่เหมาะสมเป็นปัญหาของประเทศไทยที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 4 ทศวรรษ ต่อมามีความพยายามในการแก้ไขปัญหา โดยมีการพัฒนาเริ่มจากโรงพยาบาลส่งเสริมก ...
    • การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา 

      สุนทรี วัชรดำรงกุล; Suntaree Watcharadamrongkun; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; ตุลาการ นาคพันธ์; Tulakarn Nakpun; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ...
    • การพัฒนาชุมชนต้นแบบด้านความร่วมมือในการใช้ยาแบบบูรณาการสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ที่มาและความสำคัญ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นกลุ่มโรคที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้การรักษาบรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ : (1) เพื่อสังเคราะห์อ ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย 

      อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย โดยมีรูปแบบการศึกษา 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มาและความสำคัญ: ประเทศไทยมีการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลมาอย่างต่อเนื่อง จากการมีนโยบายการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์; Isareethaika Jayasvasti; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ทอง บุญยศ; Thong Boonyot; ประเสริฐ อาปัจชิง; Prasert Apadsing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ...
    • การพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การวิจัยนี้เป็นการประเมินระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy, RDUL) แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDUL ...
    • การวิจัยอนาคตระบบยาของประเทศไทย 

      สุพรชัย กองพัฒนากูล; Supornchai Kongpatanakul; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; นภดล ทองนพเนื้อ; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยอนาคตระบบยาของประเทศไทย วัตถุประสงค์การวิจัย: 1) เพื่อให้ได้ฉากทัศน์อนาคตของการใช้ยาในอีก 10 ปีข้างหน้าซึ่งคาดว่าจะมีโอกาสเกิดขึ้นจริง (most likely scenario) 2) ภาพอนาคตของการใช้ยาที่ปารถนาให้เกิด (most desirable ...
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      รวมบทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3
    • การวิจัยและพัฒนาแบบวัดความร่วมมือในการใช้ยาหลายมิติสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภายใต้บริบทประเทศไทย 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      วัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบประเมินการวัดความร่วมมือต่อยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังฉบับเบื้องต้น (20-item medication adherence questionnaire; MAQ-20) รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพเชิงจิตวิทยาของแบบประเมิน ในด้านความตรงเชิ ...
    • การวิเคราะห์สถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; วิศัลย์ มูลศาสตร์; Visal Moolasart; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; ฐิติพงษ์ ยิ่งยง; Thitipong Yingyong; วันทนา ปวีณกิตติพร; Wantana Paveenkittiporn; พิทักษ์ สันตนิรันดร์; Pitak Santanirand; สุกัญญา นำสวัสดิ์; Sukanya Numsawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาอุปสงค์และอุปทานของกำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และคาดการณ์กำลังคนการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การศึกษาระบบบริการสุขภาพด้านการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับปฏิบัติการในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ 

      อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Yuwayong Juntarawijit; ณิชกานต์ ทรงไทย; Nichakarn Songthai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญต่อการควบคุมการดำเนินโรคของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การส่งเสริมความร่วมมือในระดับปฏิบัติการเป็นกลไกสำคัญของการรักษาและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วย การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผส ...
    • การสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชน 

      Wuntipong Satawongtip; วุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์; อุษาวดี มาลีวงศ์; ปิลันธนา สัจจวาที; ธนารัตน์ เกียรติสกล; ไพบูลย์ อัศวธนบดี; สุทธิรัตน์ บุษดี; Ausawadee Maleewaong; Pisantana Sachawktee; Tanarat Kiasakol; Paiboon Asawatanabodee; Suteerat Busadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาเรื่องการสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชนเป็นงานวิจัยหนึ่งในชุดวิจัยเกี่ยวกับบทบาทร้านยากับโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทรักษาทุกโรค เมื่อรัฐบาลประกาศนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและเริ่มโครงการ ...