Browsing by Author "ทิพิชา โปษยานนท์"
Now showing items 1-7 of 7
-
ภาพที่คิดว่าสุขภาพคนไทยในอนาคตจะดีขึ้น
Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2556-07-08)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ “จัดทำภาพอนาคตระบบสุขภาพของคนไทยในทศวรรษหน้า” วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ -
ภาพอนาคตระบบสุขภาพ
สุชาต อุดมโสภกิจ; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)ในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่ระบบสุขภาพยุคใหม่ เป็นความท้าทายต่อองคาพยพในระบบสุขภาพที่จะต้องปรับตัวให้ทันกับบริบทและสถานการณ์ที่ไม่เหมือนเดิม ประเทศไทยอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายอันส่งผลต่อการพัฒนาระบบสุ ... -
รายงานเบลมองต์
วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-06)รายงานเบลมองต์เป็นส่วนหนึ่งของรายงานของคณะกรรมการชุดหนึ่งที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ของสหรัฐอเมริกา ที่กำหนดให้ต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองอาสาสมัครในการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์แ ... -
สถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ
ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ทิพิชา โปษยานนท์; Tipicha Posayanonda; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; จักร เจริญศิลป์ชัย; Chak Charoensilchai; ศิริธร อรไชย; Sirithorn Orachai; นภินทร ศิริไทย; Napintorn Sirithai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 27(3) บัญญัติให้สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สำรวจ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมทั้งสถานการณ์ของระบบสุขภาพ เพื่อให้เกิดการดำเนินการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ... -
สังเคราะห์สถานการณ์ระบบสุขภาพ
จรวยพร ศรีศศลักษณ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา; ทิพิชา โปษยานนท์; วลัยพร พัชรนฤมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552 เป็นธรรมนูญฯ ฉบับแรกของประเทศไทย ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่กำหนดในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ผ่านกระบวนการยกร่างที่มุ่งใช้องค์ความรู้ทางวิชาการทั้งจากการทบทวนสถา ... -
แนวทางการดำเนินการจัดตั้งและการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกำกับดูแลข้อมูลและความปลอดภัยหรือดีเอสเอ็มบี
วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-04)หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ (risk-benefit assessment) ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัย ... -
แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับองค์การอนามัยโลก
วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัยจนการศึกษาวิจัยเสร็จสิ้น ...