เลือกตามผู้แต่ง "สมหญิง พุ่มทอง"
แสดงรายการ 1-13 จาก 13
-
Situation on access to essential medicine in Thailand
Walaiporn Patcharanarumol; วลัยพร พัชรนฤมล; Noppakun Thammatacharee; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Somying Pumthong; สมหญิง พุ่มทอง (Health Systems Research Institute, 2020-01-29)Situation on access to essential medicine in Thailand by Walaiporn Patcharanarumol, Noppakun Thammatacharee and Somying Pumthong in Prince Mahidol Award Conference 2020 side meeting; Ensuring effective access to essential ... -
กรอบแนวคิดการวิจัยของระบบยาประเทศไทย
สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ -
การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ... -
การดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ในจังหวัดอำนาจเจริญ
สมหญิง พุ่มทอง; ลลิตา วีระเสถียร; วรพรรณ สิทธิถาวร; อภิชาติ รุ่งเมฆารัตน์; อรลักษณา แพรัตกุล; Somying Pumtong; Lalita Wirasathien; Worapan Sitthithaworn; Apichat Rungmekarat; Ornlaksana Paeratakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทยพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดในจังหวัดอำนาจเจริญ การเก็บข้อมูลทำโดยการสัมภาษณ์หมอพื้นบ้าน ได้แก่ หมอสมุนไพร หมอตำแย หมอพิธีกรรม ... -
การประเมินการกระจายแนวคิดและบรรทัดฐานของสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)นับตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ASU) เมื่อปี 2550 เป็นต้นมา ASU ยังคงมีการดำเนินอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน มีสถานพยาบาลที่ดำเนินโครงการนี้เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ภายใต้ความร่วมมือของภาค ... -
การพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย
ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)การวิจัยนี้เป็นการประเมินระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy, RDUL) แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDUL ... -
การวิเคราะห์สถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล
สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; วิศัลย์ มูลศาสตร์; Visal Moolasart; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; ฐิติพงษ์ ยิ่งยง; Thitipong Yingyong; วันทนา ปวีณกิตติพร; Wantana Paveenkittiporn; พิทักษ์ สันตนิรันดร์; Pitak Santanirand; สุกัญญา นำสวัสดิ์; Sukanya Numsawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาอุปสงค์และอุปทานของกำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และคาดการณ์กำลังคนการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ... -
การศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วีรวรรณ แตงแก้ว; วินิต อัศวกิจวิรี; พิสนธิ์ จงตระกูล; กัญญดา อนุวงศ์; สมหญิง พุ่มทอง; เขมวดี ขนาบแก้ว; ณัชธญา นิลพานิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2552-09)โครงการการศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use (Antibotics Smart Use ปีที่ 2 หรือ ASU II) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบที่เหมาะสมและผลสัมฤทธิ์ในการขยายโครงการ ASU สู่ความยั่งยืนในการลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรคเป้าหมาย ... -
การศึกษาสถานการณ์ของการเตรียมยาฉีดผสมให้ทางหลอดเลือดดำในโรงพยาบาลและความพร้อมของระบบในการนำระบบอัตโนมัติครบวงจรมาใช้ในทางปฏิบัติ
ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; จิรพงศ์ สุขสิริวรพงศ์; Jiraphong Suksiriworapong; อุกฤษฏ์ สิทธิบุศย์; Ukrit Sitthiboot; ปราการเกียรติ ยังคง; Prakrankiat Youngkong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การเตรียมยาฉีดผสมให้ทางหลอดเลือดดำ (intravenous admixture หรือ IV admixture) เป็นหนึ่งในงานบริการทางเภสัชกรรมที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยที่มารับการรักษาในโรงพยาบาล ปัจจุบันมีการเตรียม IV admixture ในโรงพยาบาลเป็นจำนวนมากตามคำส ... -
บทเรียนจากการขยายผลสู่ความยั่งยืนของโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)โครงการ Antibiotics Smart Use (ASU) เริ่มในปี พ.ศ. 2550 โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีเป้าหมายเพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคมในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย งานวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ... -
ผลกระทบด้านสุขภาพจากสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานคร
ประภัสสรา พงศ์พันธุ์พิศาล; Prapatsara Pongpunpisand; มนทยา สุนันทิวัฒน์; Montaya Sununtiwat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สร้างผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพจากมาตรการทางสาธารณสุขในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 ... -
ผลการรณรงค์โดยใช้ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงและสื่อกระแสหลักต่อแนวคิดและบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)งานวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการรณรงค์แนวคิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antibiotic Smart Use: ASU) ผ่านสื่อบุคคลและสื่อกระแสหลัก และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกั ... -
แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน
ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-07)แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการวิจัยการพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย ...ป้ายกำกับ:รายการแนะนำ