Show simple item record

Synthesizing paper on pesticide advestising by the mass media in Thailand

dc.contributor.authorพัฒนพงส์ จาติเกตุth_TH
dc.contributor.authorPhatnapong Chatiketen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:17:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:34:01Z
dc.date.available2008-12-04T05:17:39Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:34:01Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1220th_TH
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1166en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก : รายงานผลการศึกษาการสังเคราะห์องค์ความรู้เรื่องการโฆษณาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยสื่อมวลชนen_US
dc.description.abstractปัจจุบันมีการโฆษณายากำจัดศัตรูพืชปรากฏอยู่ในสื่อมวลชนจำนวนไม่น้อย และเป็นที่น่ากังวลว่าจะทำให้เกษตรกรเชื่อ งานวิจัยเรื่องการโฆษณาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยสื่อมวลชนจึงเกิดขึ้นเพื่อค้นหาว่าเนื้อหาในการโฆษณานั้นเป็นอย่างไรบ้าง โดยใช้กรอบทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรมแนวคิด 4P (Product Price Place และ Promotion) ในการตลาด และแนวคิดเกี่ยวกับการสปอนเซอร์มาศึกษา ผลการวิจัยพบว่าบริษัทยากำจัดศัตรูพืชใช้การโฆษณา 2 ประเภทคือการโฆษณาเพื่อจูงใจ (Persuasive advertisements) และการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูล (Informative public relations) สำหรับเนื้อหาที่โฆษณานั้น เป็นการบอกสรรพคุณสินค้า สร้างความน่าเชื่อถือด้วยการอ้างอิงผู้นำทางความคิด มีลีลาการนำเสนอเพื่อให้คนจดจำตราสินค้าด้วยการเล่นคำและส่งเสริมการขายด้วยการชิงโชค นอกจากนี้ยังมีการสปอนเซอร์รายการมวยตู้ เพลงลูกทุ่ง รายการส่งเสริมความรู้ด้านการเกษตรและข่าวประจำวันทางโทรทัศน์และนิตยสารเพื่อการเกษตรเพื่อเข้าถึงเกษตรกร ทั้งนี้บริษัทหลายแห่งยังทำการตลาดแบบกิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม (Cause-related marketing) เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม โดยให้การสนับสนุนโครงการเพื่อสังคม การโฆษณายากำจัดศัตรูพืชส่วนใหญ่พยายามทำให้คนจดจำตราสินค้า (ยี่ห้อ) โดยการอวดอ้างสรรพคุณที่สร้างสรรค์ขึ้นมาเอง การใช้พรีเซนเตอร์ที่ไม่ได้มีความรู้ด้านการเกษตรจริงมาเป็นผู้นำเสนอ และการเปิดให้มีการชิงโชค ด้านการสปอนเซอร์รายการนั้นก็เลือกรายการด้านความบันเทิง และคิดโครงการที่เพิ่มคุณค่าให้กับภาพลักษณ์ของบริษัท การควบคุมการโฆษณาอาจทำได้โดยการควบคุมผ่านรัฐบาลกลาง ด้วยการออกข้อบังคับหรือกฎหมายผ่านสมาคมธุรกิจด้วยการออกข้อบังคับ การปฏิบัติตามข้อตกลงสากล และการใช้มาตรการทางสังคม ด้วยการให้ความรู้อย่างกว้างขวาง และทำงานเป็นเครือข่ายร่วมกับสถาบันที่สนใจเรื่องพิษวิทยา เช่น สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ เป็นต้น สำหรับงานวิจัยในอนาคตนั้นน่าจะมีการศึกษาการโฆษณายากำจัดศัตรูพืชผ่านวิทยุ และโฆษณาแฝงในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งรวบรวมองค์ความรู้ด้านยากำจัดศัตรูพืชในเชิงโครงสร้าง ภายใต้ประเด็นเรื่อง “การเมืองเรื่องยากำจัดศัตรูพืช” เพื่อเคลื่อนไหวเชิงนโยบายต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Public Policyen_US
dc.subjectHealth Systemsen_US
dc.subjectPesticidesen_US
dc.subjectHealth Impact Assessmenten_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectระบบสุขภาพประชาชนกลุ่มต่างๆen_US
dc.subjectสารเคมีกำจัดศัตรูพืชen_US
dc.subjectสารเคมีเกษตรกรรมen_US
dc.subjectยากำจัดศัตรูพืชen_US
dc.subjectการประเมินผลกระทบทางสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleการโฆษณาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยสื่อมวลชนth_TH
dc.title.alternativeSynthesizing paper on pesticide advestising by the mass media in Thailanden_US
dc.identifier.callnoWA754.JT3 พ526ก 2548en_US
dc.identifier.contactno47ข071en_US
dc.subject.keywordpesticide advestisingen_US
dc.subject.keywordmass mediaen_US
dc.subject.keywordการโฆษณาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชen_US
dc.subject.keywordสื่อมวลชนen_US
.custom.citationพัฒนพงส์ จาติเกตุ and Phatnapong Chatiket. "การโฆษณาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยสื่อมวลชน." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1166">http://hdl.handle.net/11228/1166</a>.
.custom.total_download117
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1220.pdf
Size: 2.498Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record