แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนารูปแบบการให้บริการทันตกรรมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท

dc.contributor.authorภัตติมา เจนถาวรth-TH
dc.contributor.authorPattima Janethawornen_US
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ภัทรวุฒิพรth_TH
dc.contributor.authorจีรศักดิ์ ทิพย์สุนทรชัยen_US
dc.contributor.authorSomsak Pattarawuthipornth_TH
dc.contributor.authorJirasak Thipsoonthornchaien_US
dc.contributor.authorโรงพยาบาลบุรีรัมย์en_US
dc.contributor.authorBurirum Hospitalen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:17:54Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:32:58Z
dc.date.available2008-12-04T05:17:54Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:32:58Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1136en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1202en_US
dc.description.abstractปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพ โดยการสร้างนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับประชาชน ด้วยการเสนอคำว่า “ 30 บาทรักษาทุกโรค “ โดยมุ่งสร้างระบบบริการเชิงรุก และมุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการในแต่ละพื้นที่ แต่ปัญหาที่พบในเขตอำเภอเมืองบุรีรัมย์ คือ โรงพยาบาลบุรีรัมย์มีงานบริการในคลินิกทันตกรรมมากอยู่แล้ว จนต้องมีการเข้าคิวเพื่อรอรับบริการ เมื่อมีการปรับเปลี่ยนนโยบายใหม่ บุคลากรจึงต้องใช้เวลาและงบประมาณส่วนหนึ่งเพื่อบริหารจัดการงานด้านบริการทันตกรรมในศูนย์สาธารณสุขชุมชน และงานทันตสาธารณสุขทั้งหมดในเขตอำเภอเมืองบุรีรัมย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานทันตกรรมโรงเรียน ซึ่งต้องอาศัยเวลาและทรัพยากรในการดำเนินงานมาก ดังนั้น การบริหารจัดการด้านงานทันตสาธารณสุขในเขตอำเภอเมืองบุรีรัมย์ จึงต้องมีการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งด้านบุคลากร เวลา และงบประมาณ โดยต้องมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้รูปแบบการบริการที่เหมาะสมของพื้นที่ และให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อประชาชน วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริการทันตกรรมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ที่เหมาะสม ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ภายใต้เงื่อนไขข้อมูลที่จำกัดของทรัพยากรที่มีในพื้นที่ วิธีการศึกษาโดยการรวบรวมข้อมูลเดิมของการดำเนินงานทันตสาธารณสุขเขตอำเภอเมืองบุรีรัมย์ที่ผ่านมา การศึกษารูปแบบการดำเนินงานของจังหวัดอื่นๆ เพื่อเสนอผู้เกี่ยวข้อง จัดประชุมระดมสมอง เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานทั้งด้านคลินิคบริการและงานทันตกรรมชุมชน เมื่อดำเนินงานตามรูปแบบที่ได้มาเป็นเวลาไป 6 เดือน ได้ทำการประเมินความเปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัด ได้แก่ ผลงานบริการทันตกรรมในสถานบริการ / ระยะเวลาการรอคิวในงานเฉพาะทาง / ความครอบคลุมในงานทันตกรรมโรงเรียน / ความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติงาน จากผลการศึกษาพบว่า ผลจากการประชุมระดมสมอง ได้มีการพัฒนารูปแบบการให้บริการด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ การเพิ่มเครือข่ายการให้บริการ (Subcontractor) แก่ผู้รับบริการบัตรทองที่ สสจ.บุรีรัมย์พัฒนาระบบงานบริการทันตกรรมใน ศสช. ที่มีทันตาภิบาล การจัดทำรถออกหน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ของโรงพยาบาลบุรีรัมย์เพื่อให้บริการในโรงเรียนการจัดทำระบบและรูปแบบรายงานสภาวะทันตสุขภาพในโรงเรียนซึ่งพัฒนาโดยเจ้าหน้าที่การประเมินความเปลี่ยนแปลง พบว่า ผลงานบริการทันตกรรมเพิ่มขึ้นในแต่ละสถานบริการ ระยะเวลาการรอคิวงานเฉพาะทางเพิ่มขึ้นในบางงานเนื่องจากมีการโยกย้ายและลาออกของทันตแพทย์ ความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น สรุป การพัฒนารูปแบบการให้บริการทันตกรรม โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ทำให้สามารถจัดรูปแบบงานได้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ในพื้นที่ และควรจะมีการประเมินและปรับรูปแบบงานไปเรื่อยๆ ตามเงื่อนไขที่เปลี่ยนไปเป็นระยะ ตามความเหมาะสมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3954870 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectDental Careen_US
dc.subjectHealth Policyen_US
dc.subjectBurirumen_US
dc.subjectฟัน, การดูแลen_US
dc.subjectบุรีรัมย์en_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการให้บริการทันตกรรมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทth_TH
dc.title.alternativeThe Model of dental health care under universal health care coverage policy in Maung district, Buriram provinceen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, The government has concerned about the health system by using the policy of universal health care coverage as “ 30 Baht health care”, which emphasize on advance-service system and management of particular area. The problem seen in Amphur Muang Buriram is there are a lot of workload in dental clinic, Buriram Hospital. So dental staffs have to take time and partial budget for management, and dental services in community health center, especially the dental public health in school. Thus the management of dental public health in Amphoe Muang Buriram, has to have an effective management in human resources, time, and budget, through the co-operation of associated organizations for the appropriate service pattern in that area and the most benefit for people.The purpose of this study is to develop the proper pattern of dental service in Amphur Muang Buriram, according to the health policy under the condition of resources limitation in this area. The methods are 1. Collecting the historical data of dental public heath projects in Amphur Muang Buriram, 2. Reviewing project patterns of other provinces, 3. Brainstorming for determining the proper model of process in clinic and community, and 4. Evaluating the indicators (i.e., dental services in clinic, waiting time for special treatment, the coverage of dental health in school, and the satisfaction of dental patient and staff) after implement the developed model for 6 months.The results from brainstorming showing that there are the development of services:1.Expand the network of dental service subcontractor for people with UC card at Buriram Provincial Public Health Office.2. Development of dental service system in Community Public Health Centers that have dental nurse3.Begin the mobile car of Buriram Hospital for dental services in school.4.Initiate system and format of oral health report in school, which developed by staff. 5. The results from change evaluation show that quantity of overall dental services is raised in every dental clinic, increased waiting time of some special treatments (since there are movement and/or resign of dentists), and the satisfaction of patients and staff is increased.In conclusion, the development of dental services by participating of staff can create the pattern of process accordance with the situation area. Moreover, the evaluation should be taken and continuously modified for suitable dental service according to variations of situation.en_US
dc.identifier.callnoWU29 ภ351ก 2547en_US
dc.identifier.contactno46ค040en_US
dc.subject.keywordUniversal Health Coverageen_US
dc.subject.keywordModel of dental careen_US
dc.subject.keywordHealth system serviceen_US
dc.subject.keywordDental public healthen_US
dc.subject.keyword30 บาท รักษาทุกโรคen_US
dc.subject.keywordรูปแบบการให้บริการทัตกรรมen_US
dc.subject.keywordระบบบริการเชิงรุกen_US
dc.subject.keywordบริการทัตกรรมen_US
.custom.citationภัตติมา เจนถาวร, Pattima Janethaworn, สมศักดิ์ ภัทรวุฒิพร, จีรศักดิ์ ทิพย์สุนทรชัย, Somsak Pattarawuthiporn, Jirasak Thipsoonthornchai, โรงพยาบาลบุรีรัมย์ and Burirum Hospital. "การพัฒนารูปแบบการให้บริการทันตกรรมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1202">http://hdl.handle.net/11228/1202</a>.
.custom.total_download171
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year20
.custom.downloaded_fiscal_year3

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1136.pdf
ขนาด: 1.128Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย