Show simple item record

Promoting the civil society and mass media for health system reform

dc.contributor.authorพลเดช ปิ่นประทีปth_TH
dc.contributor.authorPoladech Pinprathipen_US
dc.contributor.authorยุทธดนัย สีดาหล้าth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:36Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:49:09Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:36Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:49:09Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.otherhs0919en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1845en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งดำเนินการในพื้นที่ 4 จังหวัด ใน 4 ภาคของประเทศ ได้แก่ นครราชสีมา ตรัง พิษณุโลก และสมุทรปราการ ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 – ตุลาคม พ.ศ. 2544 รวมเวลา 18 เดือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายงานสาธารณสุข เครือข่ายสื่อมวลชนและเครือข่ายประชาคมพื้นที่ระดับจังหวัด สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในการพัฒนารูปแบบความร่วมมือระหว่างเครือข่ายทั้ง 3 ในการเคลื่อนไหวสังคมระดับท้องถิ่นเพื่อการปฏิรูประบบสุขภาพ ผู้ดำเนินการประกอบด้วยคณะวิจัยส่วนกลางและคณะวิจัยพื้นที่ทั้ง 4 ซึ่งมีขั้นตอนดำเนินการดังนี้ (1) การศึกษาบริบทพื้นที่และจัดทำแผนที่ศักยภาพ (2) การประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างนักวิจัยกับเครือข่ายเป้าหมายในพื้นที่เพื่อกำหนดประเด็นเคลื่อนไหว กำหนดกลุ่มเป้าหมาย และออกแบบกระบวนการเคลื่อนไหว (3) ลงมือปฏิบัติการ (4) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรุปบทเรียนและสังเคราะห์ชุดความรู้ “บทบาทภาคประชาสังคมกับการสื่อสารเพื่อการปฏิรูประบบสุขภาพ”ผลการดำเนินการพบว่า 1. ในการเคลื่อนไหวสังคมสร้างระเบียบวาระท้องถิ่นด้านสุขภาพนั้น การชูประเด็น “สุขภาพของสังคม” มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ง่ายเพราะชุมชนและประชาคมท้องถิ่นมองสุขภาพเป็น “แบบองค์รวม” 2. การสื่อสารที่ทรงพลังในการสร้างระเบียบวาระท้องถิ่นนั้นต้องการการผสมผสานของสื่อมวลชน สื่อท้องถิ่น และสื่อบุคคลอย่างลงตัว ซึ่งต้องมีการออกแบบอย่างเหมาะสมเป็นการเฉพาะแต่ละท้องถิ่นไป 3. ประชาคมสื่อเพื่อสุขภาพสามารถก่อตัวได้ง่ายด้วยการจัดให้มีเวทีพูดคุยกันเป็นประจำในประเด็นปัญหาสุขภาพ โดยเริ่มจากเรื่องใกล้ตัวและอยู่ในความสนใจของผู้คนในท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ผู้นำทางความคิด นักวิชาการ-นักวิชาชีพ สื่อมวลชน และสื่อท้องถิ่นคือส่วนประกอบที่สำคัญ 4. ประชาคมท้องถิ่นมีบทบาททั้งในฐานะที่เป็น “กระบวนการเรียนรู้” และ “ขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อการเปลี่ยนแปลง” ซึ่งมีส่วนสำคัญในการกระตุ้นความสนใจ การมีส่วนร่วม ตลอดจนสร้างการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในท้องถิ่นเองth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1691810 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth System Reformen_US
dc.subjectCivil Scocietyen_US
dc.subjectการปฏิรูประบบเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectประชาสังคมด้านสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการส่งเสริมประชาคมสื่อมวลชนเพื่อสุขภาพth_TH
dc.title.alternativePromoting the civil society and mass media for health system reformen_US
dc.description.abstractalternativePromoting the Civil Society and Mass Media for Health System ReformThis study is a participatory action research project launched in 4 provinces of 4 pouts of Thailand, including: Nakornratchasima, Trung , Phitsanuloke and Samutprakarn for 18 months during May 2000 to October 2001.The objectives are to study existing relationships among three local networks: public health network, mass media network and civil society network ; and to promote learning processes and cooperation model development for creating health system reform movements at local level.The project was delivered by a central team and 4 area teams of researchers. The operation has 4 steps: (1) study the area contexts and mapping local potentialities (2) workshop of the researchers and some key persons from the target networks to identify a definite issue for social movement, target groups and to design a process of movements (3) take action (4) workshop for lessons learning and synthesizing a body of knowledge about the possible roles of civil society and mass media for promoting the health system reform.The project findings are: 1. In the process of social movements promoting the health system reform to be a consensus local agenda, the issue of “social health” is sound possible and appropriate because local communities have holistic viewpoints for their health. 2. The powerful communications to promote local agenda of health need an integrative model of mass media, traditional media and personal media which request an appropriate designing for a specific area. 3. A civil society of mass media for local health could be easily organized by setting a angular platform for health issue dialogue. The stakeholders, local intellectuals, academics, professionals, mass media and traditional media are the target groups to participate the forum, which should be started from their common heath problems or same local public issues. 4. The local civil society has potential roles of “the learning process” and “the movements for social change” which takes part in social a wareness, promoting of people participation and local interactive learning through actions as well.en_US
dc.identifier.callnoWA20.5 พ440ก 2545en_US
dc.identifier.contactno42ค092en_US
dc.subject.keywordMass Mediaen_US
dc.subject.keywordประชาคมen_US
dc.subject.keywordสื่อมวลชนen_US
.custom.citationพลเดช ปิ่นประทีป, Poladech Pinprathip and ยุทธดนัย สีดาหล้า. "การส่งเสริมประชาคมสื่อมวลชนเพื่อสุขภาพ." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1845">http://hdl.handle.net/11228/1845</a>.
.custom.total_download53
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0919.pdf
Size: 1.852Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record