Phototype development of palliative care services for end-of-life patients through community participation in Selaphum district, Roi Et province
dc.contributor.author | อุปทิน รุ่งอุทัยศิริ | en_US |
dc.contributor.author | Upathin Runguthaisiri | en_US |
dc.coverage.spatial | ร้อยเอ็ด | en_US |
dc.coverage.spatial | Roi Et province | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-28T11:32:49Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:59:01Z | |
dc.date.available | 2008-09-28T11:32:49Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:59:01Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย. 2551) (ฉบับเสริม 5) : 1021-1030 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/190 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาการพัฒนาต้นแบบระบบการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ดำเนินการระหว่างเดือนมกราคม - กันยายน พ.ศ. 2550 เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบการบริการผู้ป่วยระยะสุดท้ายต่อเนื่องจากโรงพยาบาลถึงชุมชนโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ ขั้นการจัดทำแผนการมีส่วนร่วม และขั้นการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ การศึกษาพบว่ามีการใช้เทคนิคการมีส่วนร่วมแบบปรึกษาหารือผ่านการประชุมกลุ่มย่อย มีการกำหนดนโยบาย การจัดตั้งศูนย์การดูแลประคับประคอง และกำหนดทีมดูแลผู้ป่วยร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลศูนย์สุขภาพชุมชน อาสาสมัครดูแลผู้ป่วย และญาติผู้ป่วย จากผู้ป่วย 91 ราย เป็นผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย 35 ราย การให้บริการของศูนย์ที่มากที่สุดคือ การสาธิตและให้ญาติฝึกปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน และเจ้าหน้าที่ไปร่วมงานฌาปนกิจผู้ป่วย 18 ราย การพัฒนาต้นแบบนี้ดำเนินการตามหลักการมีส่วนร่วม 4 ประการคือ เริ่มแต่เนิ่นๆ คนกลาง ความจริงใจ และความเหมาะสม การวิเคราะห์สถานการณ์พบว่าการดำเนินงานของศูนย์บริการมีจุดแข็ง คือ มีนโยบายชัดเจน มีการสื่อสารที่ดี จุดอ่อน คือ ระบบงบประมาณไม่เอื้อต่อการจัดระบบบริการ โอกาสพัฒนา คือ การมีบัญญัติเรื่องการมีส่วนร่วมในรัฐธรรมนูญและนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และภาวะคุกคาม คือ การถ่ายโอนสู่ท้องถิ่น | th_TH |
dc.format.extent | 229819 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การพัฒนาต้นแบบระบบการดูแลประคับประคองผู้ป่วยระยะสุดท้ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด | en_US |
dc.title.alternative | Phototype development of palliative care services for end-of-life patients through community participation in Selaphum district, Roi Et province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the prototype development of palliative care services for end-of-life patients through community participation in Selaphum district, Roi Et Province, between January and September 2008. The aim was to explore and develop continuity of palliative care from the hospital to the community by using three steps in a participatory process, i.e. preparation, planning and implementation phases. Data were collected by using questionnaires and interviews. The results revealed that the participation processes were used throughout the study by consulting and by group discussion. The policy was developed; the palliative care unit was established and team was formed, including hospital staff, health-care workers, volunteers, and patients’ relatives. A total of 99 patients were enrolled in the study. The most common group, which included 35 patients, comprised those with cancer. The most common services provided were demonstration and skill training for patients’ relatives to enable them to take care of the patients at home. There were 18 funeral cere-monies which staff could join. Development of the services had followed the “4S” principles: start early, stakeholders, sincerity and suitability. Situation analysis found the strength of the service was sound policy and good communication between stakeholders, but the weaknesses were budget schemes which did not support the service set up. Opportunities in the participatory process were assigned by the Constitution and the Ministry of Public Health’s policy, but there were also threats about staff confusion concerning decentralization to the local government level. | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้ป่วยระยะสุดท้าย | en_US |
dc.subject.keyword | การดูแลแบบประคับประคอง | en_US |
dc.subject.keyword | การมีส่วนร่วม | en_US |
dc.subject.keyword | ชุมชน | en_US |
dc.subject.keyword | End of Life Patients | en_US |
dc.subject.keyword | Palliative Care | en_US |
dc.subject.keyword | Participation | en_US |
dc.subject.keyword | Community | en_US |
.custom.citation | อุปทิน รุ่งอุทัยศิริ and Upathin Runguthaisiri. "การพัฒนาต้นแบบระบบการดูแลประคับประคองผู้ป่วยระยะสุดท้ายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/190">http://hdl.handle.net/11228/190</a>. | |
.custom.total_download | 2963 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 531 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 73 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ