Show simple item record

The belmont report

dc.contributor.editorวิชัย โชควิวัฒนen_US
dc.contributor.editorทิพิชา โปษยานนท์en_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-03-20T10:56:52Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:46:32Z
dc.date.available2009-03-20T10:56:52Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:46:32Z
dc.date.issued2551-06en_US
dc.identifier.isbn9789741016938en_US
dc.identifier.otherhs1527en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2286en_US
dc.description.abstractรายงานเบลมองต์เป็นส่วนหนึ่งของรายงานของคณะกรรมการชุดหนึ่งที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ของสหรัฐอเมริกา ที่กำหนดให้ต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองอาสาสมัครในการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อทำหน้าที่คุ้มครองอาสาสมัครดังกล่าวอย่างเหมาะสม คณะกรรมการดังกล่าวใช้เวลาร่วม 4 ปี ทำงานอย่างต่อเนื่องจนได้ข้อสรุปเป็นรายงานเล่มโต ซึ่งส่วนหนึ่งคือข้อเสนอเรื่อง หลักจริยธรรมและแนวทางการคุ้มครองอาสาสมัครวิจัย ซึ่งเสนอเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2522 ข้อเสนอดังกล่าวนับว่าเป็นข้อเสนอที่ดีเยี่ยมเพราะเป็นครั้งแรกในโลกที่มีการนำเสนอหลักการพื้นฐานสามประการด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ คือ หลักความเคารพในบุคคล หลักผลประโยชน์ และหลักความยุติธรรม หลักจริยธรรมพื้นฐานทั้งสามประการนี้ ไม่เคยปรากฏในหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลการวิจัยในมนุษย์ที่เขียนขึ้นก่อนหน้านั้น รายงานเบลมองต์จึงได้สถานะเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางไม่เฉพาะแต่ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นต้นกำเนิดเท่านั้น ทั้งนี้ด้วยเหตุผลสำคัญนอกเหนือจากการเสนอหลักจริยธรรมพื้นฐานสามประการที่กล่าวแล้ว คือ ประการแรก มีการแยกแยะชัดระหว่างการปฏิบัติกับการวิจัย ประการที่สอง หลักจริยธรรมทั้ง 3 ข้อ สอดคล้องและเป็นหลักเดียวกันกับหลักจริยธรรมสากลในเวชปฏิบัติ เพียงแต่ระดับความลึก การประยุกต์ใช้และการเน้นแตกต่างกัน ประการที่สาม คำอธิบายหลักจริยธรรมทั้ง 3 ข้อครอบคลุมกว้างขวางทุกแง่ทุกมุม สอดคล้องกับปัญหาและความสำคัญของการส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ ประการที่สี่ มีข้อเสนอการประยุกต์ใช้หลักจริยธรรมแต่ละข้ออย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจน ให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถศึกษา ทำความเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ ประการที่ห้า เป็นข้อเสนอที่เขียนได้อย่างกระชับ ชัดเจน และทรงพลัง หลักจริยธรรมการวิจัยสามประการนี้ เมื่อมีการจัดทำหลักจริยธรรมสากลสำหรับสำหรับการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ (CIOMS) ก็ได้นำไปตอกย้ำไว้ และได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง จนถือได้ว่าหลักดังกล่าวมีสถานะเป็นหลักจริยธรรมการวิจัยสากลโดยสมบูรณ์แล้ว สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ เห็นความสำคัญของรายงานเบลมองต์ดังกล่าวแล้วจึงได้แปลเป็นภาษาไทย เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับตั้งแต่ นักวิจัย สถาบันวิจัย กรรมการจริยธรรมการวิจัย ผู้ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย เจ้าหน้าที่รับผิดชอบอื่นๆ รวมทั้งอาสาสมัครวิจัย นักวิชาการ และประชาชนผู้สนใจ จะได้มีโอกาสศึกษาทำความเข้าใจและใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent73658 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์en_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectวิจัย--แง่ศีลธรรมจรรยาen_US
dc.subjectการทดลองในมนุษย์(แพทย์ศาสตร์)--จรรยาบรรณen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleรายงานเบลมองต์en_US
dc.title.alternativeThe belmont reporten_US
dc.typeDocumenten_US
dc.description.publicationหนังสือเล่มนี้นำเสนอในการประชุมคณะกรรมการจริยธรรมในกระทรวงสาธารณสุขen_US
dc.identifier.callnoW20.55 ว539ร 2551en_US
.custom.citation "รายงานเบลมองต์." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2286">http://hdl.handle.net/11228/2286</a>.
.custom.total_download1352
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month27
.custom.downloaded_this_year95
.custom.downloaded_fiscal_year145

Fulltext
Icon
Name: hs1527.pdf
Size: 486.6Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record