Show simple item record

Thai Diabetes Risk Score Applied to Cost-effectiveness Analysis of Diabetes Primary Prevention for Prediabetes in Thatpanom District, Nakhon Phanom Province

dc.contributor.authorมนู ชัยวงศ์โรจน์en_US
dc.contributor.authorManu Chaiwongrojen_US
dc.contributor.authorขวัญดาว พันธ์หมุดen_US
dc.contributor.authorKwandao Punhmuden_US
dc.contributor.authorอเนก ทนงหาญen_US
dc.contributor.authorAnek Thanonghanen_US
dc.contributor.authorพิมพ์วลัญช์ พึ่งผาสุกen_US
dc.contributor.authorPimwalaun Pungphaasuken_US
dc.contributor.authorณัฐพล ผลโยนen_US
dc.contributor.authorNuttaphon Ponyonen_US
dc.coverage.spatialนครพนมen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:46:30Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:12Z
dc.date.available2008-10-01T10:46:30Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:12Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 4) : 859-872en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/280en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุน ประสิทธิผลของการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลินในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานโดยประยุกต์ใช้คะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานสำหรับคนไทยวัดประสิทธิผล ประชากรศึกษาคือกลุ่มเสี่ยงเบาหวานตามเกณฑ์คัดกรองด้วยวาจาและมีระดับน้ำตาลในเลือดผิดปรกติ 1,182 ราย ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 400 คนที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และกลุ่มควบคุมที่รับบริการ9ามปรกติ 410 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินคะแนนความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน แบบบันทึกต้นทุนของผู้รับและหน่วยบริการ กิจกรรมป้องกันปฐมภูมิโรคเบาหวานของค่ายกระตุ้นความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าอัตราส่วน ทดสอบความแตกต่างทางสถิติด้วยการทดสอบทีและการทดสอบทีจับคู่ กำหนดความเชื่อมั่นทางสถิติที่ระดับ 0.05 การศึกษาพบว่า (1) กิจกรรมค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอุบัติการณ์การเป็นโรคเบาหวานในกลุ่มทดลองได้ถึง 7.49 เท่า เทียบกับกลุ่มควบคุม (ค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์ คือ 7.49 และเป็นผลให้ค่าเฉลี่ยของทั้งคะแนนความเสี่ยงและค่าความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อีกทั้งยังลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานโดยมีผลต่อค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกายและระดับแรงดันเลือดในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้วย การปรับวิถีชีวิต แต่ปัจจัยเสี่ยงด้านความยาวรอบเอวไม่เปลี่ยนแปลง (2) ประสิทธิผลการป้องกันปฐมภูมิการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงพิจารณาจากส่วนต่างของค่าความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานที่ป้องกันได้เท่ากับ 0.0198 หรือพิจารณาจากอัตราอุบัติการณ์ของกลุ่มเสี่ยงที่มีค่าคะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานลดลงเท่ากับ 0.2375 (3) ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการป้องกันปฐมภูมิการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง โดยกิจกรรมค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบไม่ค้างคืนเท่ากับ 357,000 บาท โดยเป็นการะต้นทุนของผู้รับบริการร้อยละ 20.31 (4) ต้นทุน ประสิทธิผลของการป้องกันปฐมภูมิการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงโดยกิจกรรมค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเท่ากับ 18,035,353 บาท ต่อหนึ่งหน่วยค่าความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานที่ป้องกันได้ หรือเท่ากับ 1,503,578.9 บาทต่อหนึ่งหน่วยอัตราอุบัติการณ์ของกลุ่มเสี่ยงที่มีค่าคะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานลดลงth_TH
dc.format.extent231255 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธาณสุขen_US
dc.titleการประยุกต์คะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานสำหรับคนไทยสู่การวิเคราะห์ต้นทุน - ประสิทธิผลของการป้องกันปฐมภูมิกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนมen_US
dc.title.alternativeThai Diabetes Risk Score Applied to Cost-effectiveness Analysis of Diabetes Primary Prevention for Prediabetes in Thatpanom District, Nakhon Phanom Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this quasi-experimental research was to apply the Thai diabetes risk score for evaluating diabetes prevention outcome in order to conduct a cost-effectiveness analysis of diabetes primary prevention for prediabetes. The study population included 1,182 cases of prediabetes selected by verbal screening criteria and impaired fasting glucose level (100 - 125 mg/dl); they were divided into two study groups for comparison. The experimental group consisted of 400 prediabetes cases who agreed to participate in a prediabetic day camp; the control group comprised 410 prediabetes cases receiving ordinary health-care services. The instruments used for collecting the data were questionnaires, Thai diabetes risk score, customer and provider cost data recording profiles, practice guidelines for a diabetes prevention program in a day camp. Data were analyzed statistically, using frequency, percentage, mean, standard deviation, and ratio; they were comparatively analyzed by t-test and paired t-test at the 0.05 level of statistical significance. The results of this study were as follows: (1) prediabetic day camp activities effected a reduction in the cumulative incidence of developing diabetes by a factor of 7.49 times in the experimental group (relative risk = 7.49) compaired with the control group; it also statistically significantly decreased the average diabetes risk score and the probability level of the sample in the day camp compared with those in the control group. Furthermore, the risk factors for diabetes reduced from lifestyle modification caused a statistical decrease that was significant (p < 0.05) on both average BMI and BP level, except for waist circumference; (2) the effectiveness of diabetes primary prevention for prediabetes justified by summation of the individual differences in diabetes risk probability before and after intervention was 0.0198; otherwise the cumulative incidence of lower diabetes risk score for prediabetes in the experimental group revealed a score of 0.2375; (3) the economic cost of diabetes primary prevention for prediabetes in the prediabetic day camp was 357,100 Baht, with the opportunity cost being 20.31 percent compared with the total cost; (4) the cost-effectiveness ratio of diabetes primary prevention for prediabetes in the day camp was 18,035,353 Baht per effective diabetes risk probability prevented and/or 1,503,578.9 Baht per effective cumulative incidence prevented. It was recommended that (1) the research findings should provide important information for policy decisions to apply the Thai diabetes risk score for evaluating diabetes prevention outcome; (2) comparative cost-effectiveness analysis of diabetes primary prevention for prediabetes should also be studied by other health-care teams on a long-term basis.en_US
dc.subject.keywordคะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานen_US
dc.subject.keywordการวิเคราะห์ต้นทุน-ประเมินผลen_US
dc.subject.keywordโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลินen_US
dc.subject.keywordThai Diabetes Risk Scoreen_US
dc.subject.keywordCost-effectiveness Analysisen_US
dc.subject.keywordNon-insulin Dependent Diabetes Mellitusen_US
.custom.citationมนู ชัยวงศ์โรจน์, Manu Chaiwongroj, ขวัญดาว พันธ์หมุด, Kwandao Punhmud, อเนก ทนงหาญ, Anek Thanonghan, พิมพ์วลัญช์ พึ่งผาสุก, Pimwalaun Pungphaasuk, ณัฐพล ผลโยน and Nuttaphon Ponyon. "การประยุกต์คะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานสำหรับคนไทยสู่การวิเคราะห์ต้นทุน - ประสิทธิผลของการป้องกันปฐมภูมิกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/280">http://hdl.handle.net/11228/280</a>.
.custom.total_download1091
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year230
.custom.downloaded_fiscal_year15

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n1 ...
Size: 230.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record