การปรับการทำงานศิลปะเพื่อเด็กพิการ
dc.contributor.author | จุลนี เทียนไทย | en_US |
dc.contributor.author | เลิศศิริร์ บวรกิตติ | en_US |
dc.contributor.author | Chulanee Thianthai | en_EN |
dc.contributor.author | Lertsiri Bovornkitti | en_EN |
dc.date.accessioned | 2010-09-23T03:24:02Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:06:15Z | |
dc.date.available | 2010-09-23T03:24:02Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:06:15Z | |
dc.date.issued | 2553-06 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 4,2(เม.ย.-มิ.ย. 2553) : 188-203 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2987 | en_US |
dc.description | บทความแปลและเรียบเรียงจากบท Art Adaptations for Children with Disabilitues ในหนังสือ Art-centered Education and Therapy for Children with Disabilities โดย Frances E. Anderson สำนักพิมพ์ Charles C. Thomas Publishers, Springfield, Illinois, USA ; 1994 หน้า 55-83 | en_US |
dc.description.abstract | การปรับศิลปะเพื่อบำบัดเด็กพิการมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กพิการมีความสะดวกที่เหมาะสมกับการทำงานศิลปะและสามารถประดิษฐ์ผลงานศิลปะสร้างสรรค์ด้วยตนเอง ทีมงานประกอบไปด้วย ครู นักกายภาพบำบัด นักอาชีวบำบัด บุคลากรทางการแพทย์ นักศิลปกรรมบำบัด และตัวเด็กเอง สิ่งท้าทายที่สำคัญ คือ การสรรหาวิธีการปรับตัวในรูปแบบต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้อง โดยทั่วไปวิธีการปรับเพื่อการทำงานศิลปะได้แก่ (1)การปรับพื้นที่ทางกายภาพ (2) การปรับสื่อและอุปกรณ์ทางศิลปะ (3)การปรับลำดับการให้คำสั่ง และ (4)การปรับทางเทคนิค ในบทความนี้มีรายละเอียดของการปรับแต่ละประเภทที่มีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของเด็กพิการทางปัญญา ทางการเรียนรู้ ทางพฤติกรรมและ/หรือความแปรปรวนทางอารมณ์ พิการทางร่างกาย บกพร่องทางการได้ยิน และบกพร่องทางการมองเห็น | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | เด็กพิการ | en_US |
dc.title | การปรับการทำงานศิลปะเพื่อเด็กพิการ | en_US |
dc.title.alternative | Art Adaptations for Children with Disabilities | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This is a translated and edited article from chapter III (pp. 55-83) of the book published by Charles C. Thomas Publisher, Springfield, Illinois, in 1994 entitled Art-centered Education and Therapy for Children with Disabilities by Frances E. Anderson. Art adaptations for children with disabilities are focused on providing children with an easy and comfortable way to obtain art experiences and produce creative artworks of their own. The most important and challenging work for the working team (which comprised teacher, physical therapist, occupational therapist, medical staff, art therapist, and the disabled child) involves the method for solving various types of adaptation problems. In general, art adaptations are grouped into four categories: in the physical space, in the art media and tools, in instructional sequence, and in technological adaptations. Details on how these art adaptation categories are implemented in children with mental retardation, learning disabilities, behavioral/emotional disturbances, physical disabilities, hearing and visual impairments are elaborated in the text. | en_US |
dc.subject.keyword | การบำบัดเด็กพิการ | en_US |
.custom.citation | จุลนี เทียนไทย, เลิศศิริร์ บวรกิตติ, Chulanee Thianthai and Lertsiri Bovornkitti. "การปรับการทำงานศิลปะเพื่อเด็กพิการ." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2987">http://hdl.handle.net/11228/2987</a>. | |
.custom.total_download | 2510 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 408 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 25 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ