แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินผลการใช้ชุดความรู้แนวทางปฏิบัติงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

dc.contributor.authorจุฑาธิป ศีลบุตรen_US
dc.contributor.authorสมชาย วิริภิรมย์กูลen_US
dc.contributor.authorปราณี สุทธิสุคนธ์en_US
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพลen_US
dc.contributor.authorดุษณี ดำมีen_US
dc.date.accessioned2012-04-23T07:26:00Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:19:53Z
dc.date.available2012-04-23T07:26:00Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:19:53Z
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.otherhs1937en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3500en_US
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อประเมินชุดความรู้แนวทางปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านประโยชน์ ความเหมาะสมในการใช้ และกระบวนการส่งต่อชุดความรู้ โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากผู้อำนวยการหรือเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสนทนากลุ่มกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มผู้อำนวยการหรือเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และเจ้าหน้าที่ระดับบริหารของกลุ่มเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผลการศึกษาพบว่าโดยส่วนใหญ่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้รับชุดความรู้แนวทางปฏิบัติงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจากสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข หลังจากที่ผู้ที่ได้รับชุดความรู้ได้อ่านชุดความรู้ มีการนำประเด็นในชุดความรู้ไปใช้ในระดับปานกลางถึงสูง เมื่อพิจารณาในประเด็นด้านความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์พบว่า ส่วนใหญ่เห็นว่าองค์ความรู้ที่ระบุในชุดความรู้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้ง่ายขึ้น แต่ประเด็นความรู้ที่ระบุในชุดความรู้แนวทางปฏิบัติงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนำไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้บางส่วน ไม่สามารถนำไปใช้ได้ทั้งหมด เนื่องจากเนื้อหาสาระบางส่วนไม่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ปัญหาอุปสรรคและข้อจำกัดอื่น ๆ ของการใช้ชุดความรู้ คือ การขาดการสื่อสารประชาสัมพันธ์เรื่องชุดความรู้และการมีอัตรากำลังไม่เพียงพอทำให้ไม่มีเวลาอ่าน ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้คือ ควรมีการกำหนดเป็นนโยบายให้ชัดเจนและชี้แจงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบเพื่อปฏิบัติ อีกทั้งควรมีระบบการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และควรสนับสนุนให้มีการจัดการความรู้ในพื้นที่เพื่อให้ได้แนวทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1315867 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการบริหารโรงพยาบาลen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินผลการใช้ชุดความรู้แนวทางปฏิบัติงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Using Practical Guideline Manuals for Health Promoting Hospitalen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeThis study was conducted to evaluate practical guideline manuals for health promoting hospital in aspects of the level of use, appropriate use and delivery process. Data collection were collected by self administered questionnaire with directors or staffs of health promoting hospital, and focus-group discussion with directors or staffs of health promoting hospital and focus-group discussion with administrative staffs of health provincial office, health district office and contracting unit for primary care. Results showed that most of health promoting hospitals received the set of practical guideline manuals from Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Health. The levels of using each practical guideline manuals were moderate to high, and most of respondents revealed that the contents in manuals guided them to complete work easily. However, not all contents in these manuals could be applied in practical. The barriers of using these manuals were the lack of communication and public relations, and the lack of staffs to work at health promoting hospital. The finding of this study suggested that the policy of using manuals should be established and informed to all organizations: health promoting hospital, provincial health office, district health office and contracting unit for primary care. The monitoring and evaluation should be done continuously and the knowledge management should be conducted in each area to gain specific guidelines for area.en_US
dc.identifier.callnoWX150 จ624ค 2555en_US
dc.identifier.contactno54-034en_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลen_US
.custom.citationจุฑาธิป ศีลบุตร, สมชาย วิริภิรมย์กูล, ปราณี สุทธิสุคนธ์, เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล and ดุษณี ดำมี. "การประเมินผลการใช้ชุดความรู้แนวทางปฏิบัติงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3500">http://hdl.handle.net/11228/3500</a>.
.custom.total_download154
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1937.pdf
ขนาด: 1.350Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย