แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

สวัสดิการสังคมและการดูแลสุขภาพอย่างไม่เป็นทางการ: กรณีศึกษาการใช้การประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการกำหนดเงินค่าชดเชยในประเทศไทย

dc.contributor.authorวัชรา ริ้วไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorกันยารัตน์ ปนสูงเนินth_TH
dc.contributor.authorซัสมิทา แชทเทอร์จีth_TH
dc.contributor.authorอาทร ริ้วไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorWachara Riewpaiboonen_EN
dc.contributor.authorKanyarat Ponsoongnernen_EN
dc.contributor.authorSusmita Chatterjeeen_EN
dc.contributor.authorArthorn Riewpaiboonen_EN
dc.date.accessioned2013-06-18T08:52:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:19:23Z
dc.date.available2013-06-18T08:52:37Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:19:23Z
dc.date.issued2556-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 7,1 (ม.ค.- มี.ค. 2556) : 86-98en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3851en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้ประเมินการดูแลอย่างไม่เป็นทางการแก่คนพิการอันเนื่องมาจากโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทย โดยการใช้วิธีสินค้าตัวแทนในการประเมินมูลค่าเป็นตัวเงินของการดูแล ซึ่งใช้ราคาตลาดของแรงงานที่ใกล้เคียงกับกิจกรรมการดูแลในการคำนวณต้นทุน ทำการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ในปี 2549 จำนวน 101 ราย ซึ่งป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมองมาแล้วอย่างน้อย 6 เดือน และมีคะแนนสถานะการทำงานวัดโดยดัชนีบาร์เธล น้อยกว่า 95 การศึกษาพบว่าเวลาการดูแลอย่างไม่เป็นทางการเฉลี่ยเดือนละ 94.6 ชั่วโมง โดยจำแนกเป็นกิจกรรมในครัวเรือน 29 ชั่วโมง การดูแลสุขภาพ 24 ชั่วโมง กิจวัตรประจำวัน 38 ชั่วโมง และกิจกรรมนอกบ้าน 3 ชั่วโมง แปลงเป็นมูลค่าเงินเดือนละ 136 เหรียญสหรัฐ หรือ 4,250 บาท (ที่มูลค่าของปี 2553) การผันแปรของค่าจ้างแรงงาน ส่งผลให้ต้นทุนเปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 50 (ทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง) ปัจจัยที่ส่งผลต่อต้นทุนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ความรุนแรงของความพิการ และการอยู่ในเมือง ต้นทุนที่ประเมินโดยวิธีสินค้าตัวแทนนี้ มีมูลค่าน้อยกว่าวิธีต้นทุนค่าเสียโอกาสของผู้ดูแล แต่มีมูลค่ามากกว่าเงินสวัสดิการคนพิการ (เดือนละ 500 บาท หรือ 16 US$) ผลการศึกษาครั้งนี้ควรจะนำไปใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาทบทวนอัตราเงินสวัสดิการคนพิการ โดยเฉพาะคนพิการที่เป็นผู้สูงอายุth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleสวัสดิการสังคมและการดูแลสุขภาพอย่างไม่เป็นทางการ: กรณีศึกษาการใช้การประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการกำหนดเงินค่าชดเชยในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeSocial Welfare and Provision of Informal Care: A Case Study Using Economic Valuation to Determine Monetary Compensation in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study evaluates informal care for disabled stroke survivors in Thailand. It applies the proxy good method to determine monetary value of the care. Market prices of labor similar to informal care activities were used in the cost calculation. Data were collected by means of interviews conducted during 2006. The sample consisted of 101 disabled persons who had suffered a stroke at least six months prior to the interview, and had a functional status score of less than 95 as measured by the Barthel Index. Average monthly time spent on informal care was 94.6 hours. Time spent for household activities of daily living (HDL), health care activities (HCA), activities of daily living (ADL) and instrumental activities of daily living (IADL) was 29, 24, 38 and 3 hours/month, respectively. The average monthly monetary value of informal care was US$136 (at 2010 prices). Variations of the market price of labor caused changes in the cost of approximately 50% (both increase and decrease). Severity of disability and urban area had significant effects on the cost. The informal care value was less than that found using the opportunity cost method of calculation. It was much more than the current welfare payment for disabled people (500 Thai baht, or approximately US$16 per month). The findings should be considered as inputs for revision of welfare payment for people with disabilities, particularly those who are also elderly.en_US
dc.subject.keywordสวัสดิการสังคมen_US
dc.subject.keywordการประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์en_US
dc.subject.keywordคนพิการen_US
dc.subject.keywordSocial Welfareen_US
dc.subject.keywordEconomic Valuationen_US
dc.subject.keywordDisabled Personen_US
.custom.citationวัชรา ริ้วไพบูลย์, กันยารัตน์ ปนสูงเนิน, ซัสมิทา แชทเทอร์จี, อาทร ริ้วไพบูลย์, Wachara Riewpaiboon, Kanyarat Ponsoongnern, Susmita Chatterjee and Arthorn Riewpaiboon. "สวัสดิการสังคมและการดูแลสุขภาพอย่างไม่เป็นทางการ: กรณีศึกษาการใช้การประเมินค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการกำหนดเงินค่าชดเชยในประเทศไทย." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3851">http://hdl.handle.net/11228/3851</a>.
.custom.total_download1271
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year168
.custom.downloaded_fiscal_year22

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v7n1 ...
ขนาด: 279.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย