dc.contributor.author | ปรีชาพล ปึ้งผลพูล | th_TH |
dc.contributor.author | Preechapol Puengpholpool | th_TH |
dc.contributor.author | ไอรินลดา วิศิษฎ์พรกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Irinlada Wisitphonkul | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐทิชา หงษ์สามสิบหก | th_TH |
dc.contributor.author | Natticha Hongsamsibhok | th_TH |
dc.contributor.author | อนุวัฒน์ รัสมะโน | th_TH |
dc.contributor.author | Anuwat Ratsamano | th_TH |
dc.contributor.author | ปัทมาภรณ์ เครือหงษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Patthamaporn Khruahong | th_TH |
dc.contributor.author | จริยา ดาหนองเป็ด | th_TH |
dc.contributor.author | Chariya Danongped | th_TH |
dc.contributor.author | นันนภัส กันตพัตชญานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Nannaphat Kantaphatchayanon | th_TH |
dc.contributor.author | ธีรพล ใจกล้า | th_TH |
dc.contributor.author | Theerapon Jaikla | th_TH |
dc.contributor.author | สุภนุช ทรงเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | Supanuch Shongcharoen | th_TH |
dc.contributor.author | จักรกฤษณ์ ปานแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | Jakkit Pankaew | th_TH |
dc.contributor.author | จันทร์จิรา เสนาพรม | th_TH |
dc.contributor.author | Junjira Sanaprom | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-29T02:34:29Z | |
dc.date.available | 2023-09-29T02:34:29Z | |
dc.date.issued | 2566-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,3 (ก.ค. - ก.ย. 2566) : 599-618 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5942 | |
dc.description.abstract | การถอดบทเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานด้วยวิธีการทบทวนเอกสารและศึกษาประสบการณ์ดำเนินงานจากเรื่องเล่าของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เต็มใจให้ข้อมูล จำนวน 50 คน ผ่านการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์และการสนทนากลุ่มผ่านจอภาพด้วยแบบสอบถามปลายเปิด เก็บข้อมูลเดือนกันยายน 2564 ผลการศึกษาพบว่าการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ใช้วิธีการกักกันแบบไม่มีผู้เข้าชม เรียก “สถานที่กักกันรูปแบบเฉพาะองค์กร ประเภท ข” เป็นการเปิดโอกาสให้นักกีฬาได้รับสิทธิเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ 2020 และพาราลิมปิกเกมส์ 2020 ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น โดยหน่วยงานจัดการแข่งขันต้องขออนุญาตจัดตั้งและดำเนินการตามแนวทางที่กรมควบคุมโรคกำหนด พร้อมจัดทำแนวปฏิบัติในทุกส่วนงาน รวมถึงการฝึกอบรมผู้เกี่ยวข้องตามมาตรการป้องกันและควบคุมโรค การแข่งขันกีฬาด้วยวิธีการกักกันเป็นเรื่องใหม่สำหรับทุกหน่วยงานจึงทำให้พบปัญหาอุปสรรคในหลายขั้นตอน ความสำเร็จที่เกิดขึ้นอาจไม่ได้มีมูลค่าเป็นตัวเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ แต่แสดงให้เห็นถึงการยอมรับจากนานาประเทศในศักยภาพของประเทศไทยที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้ ทั้งนี้เพื่อให้การแข่งขันกีฬาเกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนสังคมและเศรษฐกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรกำหนดมาตรการป้องกันและควบคุมโรคร่วมกันกรณีมีผู้เข้าชม ทั้งมาตรการส่วนบุคคลและอาคารสถานที่ ควรมีร้านคู่สัญญานอกสถานที่กักกันที่ผ่านมาตรฐานการป้องกันควบคุมโรค เช่น ร้านอาหาร ร้านขายของใช้ประจำวัน ร้านขายสินค้าที่ระลึก เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้กักกันได้ลดความตึงเครียดและกระจายรายได้สู่ชุมชน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การแข่งขันกีฬา | th_TH |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | Coronaviruses | th_TH |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.subject | Coronavirus Infections | th_TH |
dc.subject | การติดเชื้อไวรัสโคโรนา | th_TH |
dc.title | ถอดบทเรียนการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 | th_TH |
dc.title.alternative | Lessons Learned from the Operations of International Sports Events during COVID-19 Pandemic | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This lesson learned study aimed to review documents and experiences gained from story-telling of 50 executives and practitioners involving with international sports events during COVID-19 pandemic. Key informants were from government and private organizations who agreed to participate in phone and video conference interviews or discussions with an open-ended questionnaire conducted in September 2021. According to research findings, the operations of international sports events with no audiences during the COVID-19 pandemic used quarantine measures called “organizational quarantine type B” provided an opportunity for athletes to be eligible to participate in the Tokyo 2020 Olympic and Paralympic Games. All the authorities involved expressed concerns on challenges of the management of sports events under quarantine. Even though the accomplishments did not have direct economic worth, Thailand had shown the potential of controlling the COVID-19 pandemic internationally. The sports events during COVID-19 with appropriate preventive measures had proved that they promoted social and economic mobility. Combined with other quarantine facilities, the contracted souvenir shops, restaurants and other recreation facilities with disease prevention and control standards, could help decrease stress and distribute profits to the community. | th_TH |
dc.subject.keyword | Sports Events | th_TH |
.custom.citation | ปรีชาพล ปึ้งผลพูล, Preechapol Puengpholpool, ไอรินลดา วิศิษฎ์พรกุล, Irinlada Wisitphonkul, ณัฐทิชา หงษ์สามสิบหก, Natticha Hongsamsibhok, อนุวัฒน์ รัสมะโน, Anuwat Ratsamano, ปัทมาภรณ์ เครือหงษ์, Patthamaporn Khruahong, จริยา ดาหนองเป็ด, Chariya Danongped, นันนภัส กันตพัตชญานนท์, Nannaphat Kantaphatchayanon, ธีรพล ใจกล้า, Theerapon Jaikla, สุภนุช ทรงเจริญ, Supanuch Shongcharoen, จักรกฤษณ์ ปานแก้ว, Jakkit Pankaew, จันทร์จิรา เสนาพรม and Junjira Sanaprom. "ถอดบทเรียนการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5942">http://hdl.handle.net/11228/5942</a>. | |
.custom.total_download | 468 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 373 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 78 | |