Show simple item record

Emergency Medical Service: A Case Study of the Local Government Administration Ban Tad Subdistrict, Mueang District, Udon Thani Province

dc.contributor.authorน้ำฝน รินวงษ์th_TH
dc.contributor.authorNamfon Rinwongth_TH
dc.contributor.authorธนมณฑชนก พรหมพินิจth_TH
dc.contributor.authorTanamontachanok Prompinijth_TH
dc.contributor.authorอัจฉรา จินวงษ์th_TH
dc.contributor.authorAchara Jinwongth_TH
dc.contributor.authorสังคม ศุภรัตนกุลth_TH
dc.contributor.authorSungkom Suparatanagoolth_TH
dc.contributor.authorกษมา คงประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorKasama Kongprasertth_TH
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ ไชยศรีth_TH
dc.contributor.authorPatcharaporn Chaisrith_TH
dc.date.accessioned2023-12-27T07:55:21Z
dc.date.available2023-12-27T07:55:21Z
dc.date.issued2566-12
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2566) : 699-715th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5983
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระหว่างเดือนธันวาคม 2564 - มิถุนายน 2565 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 3 กลุ่มคือ 1) กลุ่มวิชาการ จำนวน 34 คน 2) กลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 23 คน 3) ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบ้านตาด จำนวน 388 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยภายใต้ 3 กระบวนการ 1) กระบวนการสำรวจปัญหา 2) กระบวนการเชิงพัฒนา 3) กระบวนการประเมินผลการพัฒนา วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพในกระบวนการสำรวจปัญหาและกระบวนการเชิงพัฒนา จากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน independent t-test ผลการศึกษาและการประเมินผลการพัฒนา พบว่า 1) หลังการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ประชาชนมีความเข้าใจในการแจ้งเหตุด้านอุบัติเหตุและภาวะฉุกเฉินที่ถูกต้องเพิ่มมากขึ้น และแตกต่างจากก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) 2) กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตรงเวลาเพิ่มมากขึ้น และแตกต่างจากก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) และ 3) มีการพัฒนาความพร้อมด้านทรัพยากรในการดำเนินการงานด้านระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่เพิ่มขึ้นหลังจากพัฒนาระบบ จากเดิมร้อยละ 96.4 เพิ่มเป็นร้อยละ 99.4 สรุปได้ว่า รูปแบบการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินส่งผลให้ประชาชนมีความเข้าใจในการแจ้งเหตุที่ถูกต้องเพิ่มมากขึ้นและชุดผู้ปฏิบัติการมีการทำงานตรงเวลาเพิ่มขึ้น ซึ่งรูปแบบดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectEmergency Medical Serviceth_TH
dc.subjectการพยาบาลฉุกเฉินth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectLocal Governmentth_TH
dc.subjectLocal Government--Administrationth_TH
dc.titleการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน : กรณีศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeEmergency Medical Service: A Case Study of the Local Government Administration Ban Tad Subdistrict, Mueang District, Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis action research aimed to develop and evaluate the emergency medical service (EMS) in the local government administration Ban Tad subdistrict, Udon Thani province. The research was conducted during December 2021 - June 2022. Three target groups included: 1) 34 participants in academic group; 2) 23 participants of the local government administration; and 3) 388 people of Ban Tad subdistrict municipality. Three research processes were conducted: 1) exploration of the EMS problems; 2) development process; and 3) evaluation by using qualitative in-depth interview and focus group discussion. Data were analyzed descriptively by percentage, average, standard deviation, and by inferential independent t-test. It was found that the development of emergency medical service improved people’s knowledge on the EMS call center (before and after implementation p-value = 0.001). The EMS workforce’s time performance improved significantly after development (p-value < 0.05). The preparedness of resources for EMS operations improved from 96.4% to 99.4% after development. In conclusion, the Ban Tad local government EMS development success required indispensable cooperation from all parties.th_TH
dc.subject.keywordEMSth_TH
dc.subject.keywordการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินth_TH
dc.subject.keywordEfficiency of Emergency Medical Serviceth_TH
dc.subject.keywordผลการพัฒนาการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินth_TH
dc.subject.keywordLocal Government Administrationth_TH
.custom.citationน้ำฝน รินวงษ์, Namfon Rinwong, ธนมณฑชนก พรหมพินิจ, Tanamontachanok Prompinij, อัจฉรา จินวงษ์, Achara Jinwong, สังคม ศุภรัตนกุล, Sungkom Suparatanagool, กษมา คงประเสริฐ, Kasama Kongprasert, พัชราภรณ์ ไชยศรี and Patcharaporn Chaisri. "การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน : กรณีศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5983">http://hdl.handle.net/11228/5983</a>.
.custom.total_download190
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month64
.custom.downloaded_this_year174
.custom.downloaded_fiscal_year190

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v17n ...
Size: 379.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record