Now showing items 1-2 of 2

    • การศึกษาการใช้ Asia-Pacific Colorectal Cancer Risk Score และการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Immunochemical Test) ในการช่วยตรวจคัดกรองเนื้องอก ลำไส้ใหญ่ในประเทศไทย 

      รังสรรค์ ฤกษ์นิมิตร; พินิจ กุลละวณิชย์; สมบัติ ตรีประเสริฐสุข; สุพจน์ พงศ์ประสบชัย; ทวี รัตนชูเอก; ศิริบูรณ์ อัตศรัณย์; อภิชาติ แสงจันทร์; พิเศษ พิเศษพงษา; สติมัย อนิวรรณน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      มะเร็งลำไส้ใหญ่จัดเป็นมะเร็งที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตติดอันดับต้นๆ ของทั่วโลกและประเทศไทย การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้จะช่วยลดอุบัติการณ์และลดอัตราการเสียชีวิตมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ อย่างไรก็ตาม การตรวจคัดกรองคำนึงถึง ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยา 5-ฟลูออโรยูราซิลกับผลกระทบทางคลินิกในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักไทย 

      เฉลิมพร อรรถศิลป์; Chalirmporn Atasilp; นิภาภรณ์ แสนคุณท้าว; Nipaporn Sankuntaw; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; เอกภพ สิระชัยนันท์; Ekaphop Sirachainan; ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana; พิชัย จันทร์ศรีวงศ์; Phichai Chansriwong; อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; พัชริยา พรรณศิลป์; Phatchariya Phannasil; ปฐมพงษ์ สถาพรพงษ์; Patompong Satapornpong; มนพัทธ์ ชำนาญพล; Monpat Chamnanphon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ความสำคัญงานวิจัยชิ้นนี้คือ การเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน Dihydropyrimidine Dehydrogenase (DPYD) มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษจากการใช้ยา 5-ฟลูออโรยูราซิล ร่วมกับการแสดงออกของ miRNA ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเอนไซม์ ...