คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ (Knowledge Bank) คือ เว็บไซต์ที่รวบรวมองค์ความรู้ด้านระบบสุขภาพ ประกอบด้วย งานวิจัย บทความวิชาการ เอกสารเผยแพร่ และอื่นๆ ซึ่งเป็นผลงานที่ได้รับการสนับสนุนโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

สมัครสมาชิกก่อนดาวน์โหลด Full Text โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

ติดต่อสอบถาม 0 2027 9701 ต่อ 9038 หรือ email: library@hsri.or.th

Download คู่มือการใช้งานได้ที่นี่

 

  • การประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่อง 

    ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ขวัญพุทธา อรุณประเสริฐ; Kwanputtha Arunprasert; พรอุมา ราศรี; Pornuma Rasri; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; ศุภสุดา โพธิ์โสรีย์; Supasuda Posoree; นิชาต์ มูลคำ; Nicha Moonkham; นุชพงศ์ จงโชติชัชวาลย์; Nuchapong Jongchotchatchawal; วิศวะ มาลากรรณ; Wissawa Malakan; วิลาสินี สำเนียง; Wilasinee Samniang; ธนกร เจริญกิตติวุฒ; Thanakorn Jalearnkittiwut; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; ศิริกัลยาณ์ สุจจชารี; Sirikanlaya Sujjacharee; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
    นโยบาย “30 บาท รักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” เป็นนโยบายภาครัฐจากแผนขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2567 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับระบบบริการสุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพจากหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระ ...
  • หน่วยประมวลสถานการณ์ระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปี พ.ศ. 2567 

    สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; ศศิวิมล อ่อนทอง; Sasivimol Ontong; ภัทรจิราพร สุโอสถ; Patjirapohn Suosot; ธนพร แพงศรี; Thanaporn Phangsri; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
    การถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของระบบสุขภาพปฐมภูมิ ซึ่งเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน ...
  • การประมวลผลข้อมูลพันธุกรรมทั้งจีโนมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอบสวนผู้สัมผัสจากการระบาดของวัณโรคในเชียงราย 

    ภากร เอี้ยวสกุล; Pakorn Aiewsakun; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
    วัณโรคยังคงเป็นปัญหาสังคมทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis แม้ว่าอัตราการเจ็บป่วยและการตายจากวัณโรคในประเทศไทยจะลดลงตามลำดับ แต่ด้วยวิธีการรับมือโดยเน้นเป็นแบบ “เชิงรับ” ในปัจจุบัน ...
  • การศึกษาพันธุกรรมของภาวะค่าสายตาผิดปกติมากในเด็กในประเทศไทย 

    ณัฐสุชา หวังถิรอำนวย; Nutsuchar Wangtiraumnuay (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
    บทนำ ภาวะสายตาผิดปกติขั้นรุนแรงในเด็ก เช่น สายตาสั้นมาก (High Myopia) และสายตายาวมาก (High Hyperopia) เป็นปัญหาสำคัญทางสุขภาพตาที่อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง เช่น ต้อหิน จอตาเสื่อม และภาวะตาบอดถาวร งานวิจัยนี้มุ่งศึกษา ...
  • การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากฝุ่นละออง PM2.5 ในจังหวัดนครพนม ประเทศไทย: การศึกษานำร่อง 

    เกวลี สุนทรมน; Kaewalee Soontornmon; สุมนี วัชรสินธุ์; Sumanee Wacharasint; ภัสราภรณ์ นาสา; Patsaraporn Nasa; แสนสุข เจริญกุล; Sansuk Charoenkun; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
    ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศจากฝุ่นละออง PM2.5 (particulate matter ขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมโครเมตร) ที่เกินมาตรฐานทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดนครพนมซึ่งอยู่ในเขตสุขภาพที่ 8 นั้นได้รับผลกระทบอย่างมาก การศึกษานี้ม ...

View more