ยินดีต้อนรับ
คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ (Knowledge Bank) คือ เว็บไซต์ที่รวบรวมองค์ความรู้ด้านระบบสุขภาพ ประกอบด้วย งานวิจัย บทความวิชาการ เอกสารเผยแพร่ และอื่นๆ ซึ่งเป็นผลงานที่ได้รับการสนับสนุนโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
สมัครสมาชิกก่อนดาวน์โหลด Full Text โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ติดต่อสอบถาม 0 2027 9701 ต่อ 9038 หรือ email: library@hsri.or.th
Download คู่มือการใช้งานได้ที่นี่
Recently Added
-
ประสิทธิผลการใช้นวัตกรรมส่งเสริมสุขอนามัยและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชชาย : การพัฒนาต่อยอดของโถปัสสาวะชายเคลื่อนที่แบบจำกัดกลิ่น (ระยะที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ในประเทศไทย มีรายงานการศึกษาความชุกของกลุ่มผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการดื่มน้ำมากผิดปกติจากสถาบันหรือโรงพยาบาลด้านจิตเวชหลายแห่งพบความชุกร้อยละ 6–17 ของผู้ป่วยโรคจิตเรื้อรัง และประมาณ 1 ใน 4 ถึงครึ่งหนึ่งจะมีอาการของภาวะน้ำเป็นพิษ ... -
การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานในการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)วัตถุประสงค์การศึกษานี้เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานในการขับเคลื่อนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยศึกษาจากการดำเนินการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพของ อปท. ในพื้นที่ศึกษา จำนวน 12 แห่ง ... -
การสำรวจสถานการณ์ราคายาและออกแบบนโยบายราคายาของประเทศไทย (ฉบับภาษาอังกฤษ)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)ที่มา มาตรการของภาครัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดราคายาได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ที่มีการพัฒนานโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรกของประเทศไทย จึงควรมีการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบต่อราคายาที่เกิดจากมาตรการต่างๆ ... -
การสำรวจสถานการณ์ราคายาและออกแบบนโยบายราคายาของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06-01)ที่มา มาตรการของภาครัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดราคายาได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ที่มีการพัฒนานโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรกของประเทศไทย จึงควรมีการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบต่อราคายาที่เกิดจากมาตรการต่างๆ ... -
การประเมินความเป็นไปได้และความคุ้มค่าในการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ผ่านสายด่วนตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)การยุติการตั้งครรภ์ หรือการทำแท้งในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2563 มีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้น โดยปัจจัยสำคัญของการยุติการตั้งครรภ์ คือ สภาพเศรษฐกิจและสังคม และปัจจัยด้านสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาร ...