Now showing items 21-32 of 32

    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง 

      ธนบูรณ์ วรกิจธำรงค์ชัย; Thanaboon Worakijthamrongchai; ประสูตร ถาวรชัยสิทธิ์; Prasutr Thawornchaisit; สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขนาดใหญ่ตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วยสายสวนหลอดเลือดสมองเป็นมาตรฐานในการรักษาและมีประสิทธิผล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง ...
    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยใช้วิธีแบบจำลองมาร์คอฟ 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มณฑิรา อัศนธรรม; Montira Assanatham; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      บทนำ : ในปัจจุบันการล้างไตด้วยวิธี Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) บรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในขณะที่วิธี Automated Peritoneal Dialysis (APD) มีค่าใช้จ่ายที่สูงและยังไม่บรรจ ...
    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์และความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA โดยชุดเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองในประเทศไทย 

      พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ธเนศ ชัยสถาผล; Thanet Chaisathaphol; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol; เอื้อรัตน์ มีประมูล; Euarat Mepramoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มา : มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ 3 ในสตรีไทย แม้ว่าปัจจุบันสตรีไทยจะมีสิทธิในเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยก็ยังคงสูง ...
    • การศึกษาประสิทธิผลและการประเมินความคุ้มค่าการรักษาด้วยเครื่องพลาสมาเฟเรซิส 

      สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; ธนวรรณ ปรีพูล; Tanawan Preepul; ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย; Sirirat Anutrakulchai; จารุพร พรหมวงศ์; Jaruporn phromwong; เกษราพร วงษ์บา; Ketsaraporn Wongba; มนธรี สวโรจน์; Montaree Sawarojh; จิราวดี น้อยวัฒนกุล; Jirawadee Noiwattanakul; สหรัฐ อังศุมาศ; Saharat Aungsumart; เมธา อภิวัฒนากุล; Metha Apiwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      Therapeutic Apheresis คือ การรักษาผู้ป่วยด้วยการแยกเอาส่วนประกอบที่อยู่ในเลือด เช่น เม็ดเลือดขาว น้ำเหลือง สารที่อยู่ในน้ำเหลืองซึ่งเป็นสาเหตุของโรคออกจากตัวผู้ป่วย จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างรอบด้าน พบว่าข้อบ่งชี้ของการทำ ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • ต้นทุนบริการสุขภาพสำหรับการรักษาผู้ป่วยอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ร้านยาเปรียบเทียบกับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล 

      ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08-08)
      อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Common Illness) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่พบบ่อยในประชาชน ความรุนแรงและความซับซ้อนของโรคน้อย ประชาชนสามารถดูแลรักษาตนเองในเบื้องต้นได้ การรับบริการที่ร้านยาจึงเป็นทางเลือกที่ประชาชนเลือกใช้บริการ ...
    • ต้นทุนรูปแบบบริการผู้ป่วยในโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทย: กรณีศึกษาโรงพยาบาล 5 แห่ง 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; อภิรนันท์ พงจิตภักดิ์; Aphiranan Phongjetpuk; ธันวา ขัติยศ; Tanwa Khattiyod; ชัชชน ประเสริฐวรกุล; Chatchon Prasertworakul; ทยาภา ศรีศิริอนันต์; Thayapa Srisirianun; พงษ์ลัดดา หล่ำพู่; Pongladda Lampu; อรรศธร ศุกระชาต; Assatorn Sukrachat; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนรูปแบบบริการสุขภาพ (health service models) ผู้ป่วยโควิด-19 ที่โรงพยาบาลจัดไว้สำหรับรองรับการรักษาตามระดับอาการของผู้ป่วย โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองผู้ให้บริการ ใช้การวิเคราะห์ต้นท ...
    • ผลกระทบของการเพิ่มเพดานความคุ้มค่าในอดีตที่ผ่านมาที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคายา การตัดสินใจคัดเลือกยาเข้าบัญชียาหลักแห่งชาติและภาระงบประมาณของเจ้าภาพกองทุนต่างๆ 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เกรียง ตั้งสง่า; Kriang Tungsanga; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Wang, Yi; บุสดี โสบุญ; Budsadee Soboon; วรรณนิษา เถียรทวี; Wannisa Theantawee; จุฑาทิพ เลาหเรืองชัยยศ; Jutatip Laoharuangchaiyot; ธนกฤต มงคลชัยภักดิ์; Thanakrit Mongkolchaipak; ธนิศา ทาทอง; Thanisa Thathong; Wee, Hwee Lin; Nakamura, Ryota (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      บทนำ : มีการอภิปรายอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับมูลค่าที่เหมาะสมของเพดานความคุ้มค่า (Cost-Effectiveness Threshold, CET) ทั่วโลก หลายประเทศรวมทั้งสหราชอาณาจักรและประเทศไทยได้รับคำขอว่า CET ปัจจุบันต่ำเกินไปและควรเพิ่มขึ้น ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; ศยามล สุขขา; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; นุสรา สัตย์เพริศพราย; สาครินทร์ บุญบรรเจิดสุข; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-25)
      การใช้ยาสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ตลอดจนรวมถึงค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*15:02 เพื่อประกอบการใช้ยา carbamazepine ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แผ่นปิดกะโหลกศีรษะเฉพาะบุคคล ผลิตจากโลหะไทเทเนียมด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ สำหรับผู้ป่วยกะโหลกศีรษะยุบในการศึกษาวิจัยทางคลินิกแบบหลายสถาบัน 

      บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒน; Boonrat Lohwongwatana; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เชษฐา พันธ์เครือบุตร; Chedtha Puncreobutr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะส่งผลดีต่อทั้งสภาพร่างกายและสภาพจิตใจของผู้ป่วยตั้งแต่การรักษาความปกติของกลศาสตร์การไหลของของเหลวภายในสมอง ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายตลอดจนส่งผลต่อรูปลักษณ์ภายนอก การเข้าสังคม สภาพจิตใจของผู้ป่วยและทำ ...