เลือกตามผู้แต่ง "กฤษดา แสวงดี"
แสดงรายการ 1-9 จาก 9
-
การกระจายและความเหลื่อมล้ำของอัตรากำลังพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
อัครเดช เกตุฉ่ำ; Akadet Kedcham; อรุณรัตน์ คันธา; Arunrat Khanthar; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Tuangtip Theerawit; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)ปัญหาการกระจายและความเหลื่อมล้ำของกำลังคนด้านพยาบาลวิชาชีพนั้นส่งผลเสียต่อการให้บริการสุขภาพทั้งในแง่ของประสิทธิผลและประสิทธิภาพการดำเนินงานระบบบริการสุขภาพรวมถึงส่งผลต่อคุณภาพของการให้บริการสุขภาพด้วย การศึกษาเกี่ยวกับ ... -
การศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายในการกระจายแพทย์ไปยังหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ขาดแคลนหรือห่างไกลในชนบท
กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang; พิมพ์เพชร สุขุมาลไพบูลย์; Pimpet Sukumalpaiboon; ชุติมา ศิริภานุมาศ; Chutima Siripanumas; ทิวาวรรณ ปิยกุลมาลา; Tiwawan Piyakulmala; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)เป็นเวลากว่า 5 ทศวรรษที่รัฐบาลดำเนินนโยบายเพิ่มการผลิตและการทำสัญญาบังคับชดใช้ทุนกับแพทย์ที่จบจากสถาบันของรัฐ แม้ว่าแพทย์ในประเทศไทยจะเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ขาดนโยบายควบคุมการเคลื่อนย้ายแพทย์ที่ได้ผล เป็นเหตุให้มี ... -
การศึกษาทิศทางการผลิตกำลังคนสายสาธารณสุขภายใต้การผลิตของหน่วยงานสถาบันพระบรมราชชนก
กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Ratchatarom; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ศุทธินี วัฒนกูล; สุรศักดิ์ สุนทร; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; รุ่งนภา จันทรา; ศรีจันทร์ พลับจั่น; นภชา สิงห์วีรธรรม; แสงโฉม ถนอมสิงห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)จากการเปลี่ยนแปลงระบบบริการสุขภาพ การผลิตกำลังคนที่มีคุณลักษณะขีดความสามารถในการทำหน้าที่จึงควรมีความสอดคล้องกับสถานการณ์หรือระบบสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป สถาบันพระบรมราชชนก เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการผลิตและพัฒนากำลังค ... -
การศึกษาภาระงานและผลิตภาพกำลังคนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; Benjaporn Rajataram; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; Kamolnut Muangyim; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; วิริยา โพธิ์ขวาง-ยุสท์; Wiriya Phokhwang-Just; ศุทธินี วัฒนกูล; Suttini Wattanakul; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; ศรีจันทร์ พลับจั่น; Srijan Pupjain; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; เบญจพร รัชตารมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสมโดยทำการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาระงานและปัจจัยกำหนดผลิตภาพ 2) ศึกษาความสอดคล้องของภาระงานกับอัตรากำลังบุคลากรที่มี และ3) สังเคราะห์ข้อเสนอเช ... -
การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า
กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Repeepong Suphanchaimat; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ปิติยา สันทัด; Pitiya Santad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชี ... -
การใช้แบบจำลองพลวัตระบบในการวางแผนบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพในระยะ 10 ปีข้างหน้า: โครงการนำร่องเขตสุขภาพที่ 2
กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ทัดดาว ศรีบุรมณ์; Thatdao Sriburom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-07)การปฏิรูปกำลังคนด้านสุขภาพเป็นหนึ่งในประเด็นการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขที่กำหนดเป้าหมายให้มีกำลังคนด้านสุขภาพเพียงพอต่อการให้บริการสุขภาพเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการมีสุขภาพดีของประชาชน ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนกำลัง ... -
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล; Petsunee Thungjaroenkul; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Tuangtip Theerawit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tungcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพระหว่างพยาบาลประจำการกับพยาบาลวิชาชีพที่ไม่เป็นพยาบาลประจำการ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการวิจัย: สุขภาพและชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย ... -
รูปแบบการจ้างงาน การคงอยู่ของบุคลากรสุขภาพและภาระงบประมาณ: กรณีศึกษาเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลในภาครัฐ ระยะ 15 ปีข้างหน้า
พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)ในปัจจุบันนั้น ภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรสุขภาพที่เป็นข้าราชการลง นโยบายดังกล่าวไม่เพียงแต่ส่งผลต่อบุคลากรฝ่ายสนับสนุนบริการสุขภาพเท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิชาชีพด้านสุขภาพต่างๆ ที่สำคัญ ทั้งแพทย์ ทันตแพทย์ ... -
สถานการณ์กำลังคนพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษาสถานการณ์กำลังคนพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับอุปทานพยาบาลวิชาชีพภายในประเทศในด้านโครงสร้างและขนาดของกำลังคน แนวโน้มการเพิ่มและการสูญเสียกำลังคน รวมทั้งสถานการณ์การขาดแคลนกำลัง ...