เลือกตามผู้แต่ง "ภาสกร ศรีทิพย์สุโข"
แสดงรายการ 1-9 จาก 9
-
ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (ปีที่ 1)
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Paskorn Sritipsukho; บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; Boonying Siribumrungwong; พิชญ ตันติยวรงค์; Pichaya Tantiyavarong; อารยา ศรัทธาพุทธ; Araya Satdhabudha; พรรณศจี ดำรงเลิศ; Pansachee Damronglerd; พีร์ จารุอำพรพรรณ; Peera Jaru-ampornpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ข้อมูลประสิทธิผลของวัคซีนในสถานการณ์จริงในการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ช่วงการระบาดด้วยสายพันธุ์เดลต้าและโอไมครอนด้วยวัคซีนโควิด-19 มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) ... -
ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (ปีที่ 2)
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Paskorn Sritipsukho; บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; Boonying Siribumrungwong; พิชญ ตันติยวรงค์; Pichaya Tantiyavarong; อารยา ศรัทธาพุทธ; Araya Satdhabudha; พรรณศจี ดำรงเลิศ; Pansachee Damronglerd; พีร์ จารุอำพรพรรณ; Peera Jaru-ampornpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)งานวิจัยนี้เป็นการศึกษา Test Negative Case Control Study เพื่อประเมินประสิทธิผลของสูตรวัคซีนต่างๆ สำหรับป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 และโรคโควิด-19 ที่รุนแรง โดยคัดเลือกผู้เข้าเกณฑ์การสอบสวนการติดเชื้อ (Patient Under ... -
ผลการศึกษาเกี่ยวกับผลลัพธ์การติดตามภาวะ wheezing ในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)ภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด (Wheezing ) เป็นปัญหาที่พบบ่อยในเด็กโดยเฉพาะในเด็กเล็ก โดยพบบ่อยที่สุดในช่วงขวบปีแรก (1,2) ประมาณ 1 ใน 3 ของเด็กจะมีภาวะ wheezing อย่างน้อย 1 ครั้งเมื่อครบอายุ 3 ขวบ และประมาณครึ่งหน ... -
พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 3
ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; ราม รังสินธุ์; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; วสี ดุลวรรธนะ; ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)การดําเนินงานของเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันในปี 2551 ที่ผ่านมา ได้รับงบประมาณสนับสนุนหลักทั้งจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ภายใต้โครงการ "พัฒนาระบบการจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3” และจากกลุ่มสถาบันแพทยศาส ... -
ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Pasakorn Srithipsukho (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)ส่วนใหญ่ของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบหืดและหายใจมีเสียงวี๊ดในการศึกษานี้ จะมีอายุน้อยกว่า 2 ปี และมักพบในเด็กชายมากว่าเด็กหญิง สารก่อภูมิแพ้จากไข่ขาวและนมวัว เป็นสารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อยในเด็กกลุ่มนี้ จากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ... -
ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวิ้ด (ต่อเนื่องปีที่ 2)
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี๊ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาลและมุมมองผู้ป่วย การศึกษานี้เก็บข้ ... -
ภาระทางเศรษฐศาสตร์และการพยากรณ์โรคของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะหอบเฉียบพลันและฟังปอดพบเสียงวี้ด
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; อารยา ศรัทธาพุทธ; ศิริกุล มะโนจันทร์; กล่องทิพย์ มัชฌิมดำรง; ศศวรรณ ชินรัตนพิสิทธิ์; วิศรุต การุญบุญญานันท์; จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์; สุชาดา ศรีทิพยวรรณ; พรรณทิพา ฉัตรชาตรี; นริศรา สุรทานต์นนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)ภาวะหอบเฉียบพลันและหายใจมีเสียงวี้ดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเด็ก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินต้นทุนของการรักษาภาวะดังกล่าวในเด็กก่อนวัยเรียนซึ่งนอนโรงพยาบาล ภายใต้มุมมองของสังคม มุมมองสถานพยาบาล และมุมมองผู้ป่วย ... -
โปรแกรมพัฒนาทักษะด้านการอ่านแบบบูรณาการในโรงเรียนและต้นทุนประสิทธิผลของโปรแกรม สำหรับคัดกรองและบำบัดช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อความบกพร่องทักษะด้านการอ่าน (ปีที่ 3)
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Paskorn Sritipsukho; อิสราภา ชื่นสุวรรณ; Issarapa Chunsuwan; ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์; Tawanchai Jirapramukpitak; ติรยา เลิศหัตถศิลป์; Tiraya Lerthattasilp; กนกพร วิบูลพัฒนะวงศ์; Kanokporn Vibulpatanavong; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โครงการวิจัยในปีที่ 3 นี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์การบำบัดความบกพร่องทักษะด้านการอ่านระหว่างเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อความบกพร่องทักษะด้านการอ่าน ในโรงเรียนกลุ่มศึกษากับกลุ่มควบคุม ภายหลังจากการจัดการสอนเสริมต่อ ... -
โปรแกรมพัฒนาทักษะด้านการอ่านแบบบูรณาการในโรงเรียนและต้นทุนประสิทธิผลของโปรแกรม สำหรับคัดกรองและบำบัดช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อความบกพร่องทักษะด้านการอ่าน (ปีที่ 4)
ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Paskorn Sritipsukho; อิสราภา ชื่นสุวรรณ; Issarapa Chunsuwan; ติรยา เลิศหัตถศิลป์; Tiraya Lerthattasilp; กนกพร วิบูลพัฒนะวงศ์; Kanokporn Vibulpatanavong; อัญชลิตา รัตนจารุรักษ์; Anchalita Ratanajaruraks (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)โครงการวิจัยในปีที่ 4 นี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ ข้อแรก คือ เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการอ่าน และหาค่าคะแนนที่เป็นเกณฑ์ในการคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาการอ่านที่ควรได้รับการช่วยเหลือทักษะพื้นฐานการอ่านเพิ่มเติม ...