• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ประกันสุขภาพ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 59

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • The Last Mile of UHC in Thailand : Do We Reach the Vulnerable 

      Borwornsom Leerapan; บวรศม ลีระพันธ์ (Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University, 2560-01-30)
      เอกสารประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ...
    • The Last Mile of UHC in Thailand, Do We Reach the Vulnerable. 

      พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; อุทุมพร วงษ์ศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-30)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอน ...
    • กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ...
    • การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในส่วนของการประกันสุขภาพ 

      ศรชัย เตรียมวรกุล; Sornchai Thiemworakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลได้ผลักดันพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 บังคับใช้เพื่อให้เจ้าของรถทุกคันต้องร่วมรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุจากรถที่อาจจะเกิดขึ้น โดยกำหนดให้รถทุกคันต้องตัดให้มีการประกันภัยต่อความเสียหายในร่างกาย ...
    • การจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค 

      ปิยะฉัตร ชื่นตระกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-09)
      ผลการศึกษาเรื่องการจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกและกระบวนการให้ข้อมูลขององค์กรในระบบหลักประกันสุขภาพ ตลอดจนศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกลไกและกระบวนการ ...
    • การจัดทำหลักเกณฑ์ราคาเบิกจ่ายยา: กรณีส่งต่อผู้ป่วยนอก/พิการ/อุบัติเหตุและฉุกเฉินของ สปสช. เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิริพา อุดมอักษร; Siripa Udomaksorn; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง; Paithip Luangruangrong; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำหลักเกณฑ์การกำหนดราคาเบิกจ่ายค่ายาผู้ป่วยนอกให้แก่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เฉพาะกรณีส่งต่อ อุบัติเหตุ ฉุกเฉินและผู้พิการ การวิจัยนี้ใช้แนวคิดสำคัญ 3 ...
    • การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      กุลยา รัตนปรีดากุล; Kulaya Rattanapreedakul; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์; วิชัย วิวัฒน์คุณูปการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ...
    • การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนไทยที่อยู่บนแผ่นดินไทย 

      วีระ หวังสัจจะโชค; Weera Wongsatjachock; นพพล ผลอำนวย; Noppon Phon-amnuai; รัตนสิทธิ์ ทิพย์วงศ์; Rustanasit Tipwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      รายงานวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาอยู่สามประการหลัก ประการแรก เพื่อทบทวนประสบการณ์การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนที่อยู่บนแผ่นดิน ประการที่สอง สำรวจการจัดระบบหลักประกันสุ ...
    • การดำเนินการและการปรับตัวของโครงการประกันสังคม 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; ศรชัย เตรียมวรกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงการดำเนินงานของสำนักงานประกันสังคมซึ่งเป็นผู้บริหารกองทุนประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทนผู้ประสบภัยจากการทำงานในส่วนของการให้ความคุ้มครองด้านสุขภาพแก่ผู้ประกันตนและลูกจ้าง ...
    • การติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ของกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานฉบับนี้เป็นผลจากการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 - มิถุนายน พ.ศ. 2545 ซึ่งตามกรอบการศึกษา จะให้ความสำคัญกับกลไก (mechanism) และกระบวนการ (process) ในการดำเนินการ ...
    • การติดตามประเมินผลโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ศรีสะเกษ ปทุมธานี สระบุรี ภูเก็ต และภาพรวมการข้ามเขตกับ คุณภาพบริการของ 21 จังหวัดนำร่อง ปี 2544-2545 (ครึ่งปี) 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษาและติดตามโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ศรีสะเกษ ปทุมธานี สระบุรี ภูเก็ตและภาพรวมการข้ามเขตกับคุณภาพบริการของ 21 จังหวัดนำร่อง ปี 2544 - 2545 (ครึ่งปี) ...
    • การถอดบทเรียนเพื่อนําไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนานโยบายการบําบัดทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; จิรัฏฐ์ พรรณจิตต์; Jeerath Phannajit; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นัชชา ยงพิพัฒน์วงศ์; Natcha Yongphiphatwong; Chavarina, Kinanti Khansa; Botwright, Siobhan; Dabak, Saudamini; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; นาตาชา ชวาลา; Natasha Chawla; ธนัยนันท์ ชวนไชยะกูล; Tanainan Chuanchaiyakul; จุฬาทิพย์ บุญมา; Chulathip Boonma; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; เด่นหล้า ปาลเดชพงศ์; Denla Paladechpong; จุฑามาศ ปิยะวงษ์; Jutamas Piyawong; สุพิชชา ถิตย์เจือ; Supichcha Thitjuea (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
      หลักการและเหตุผล : ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End stage kidney disease, ESKD) เป็นโรคที่คุกคามชีวิตผู้คนจำนวนมาก ซึ่งผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งเพื่อให้มีชีวิตยืนยาว ประเทศไทยเริ่มให้สิทธิใน ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • การทบทวนวรรณกรรมกระบวนการมองอนาคตที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพ 

      นเรศ ดํารงชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)
      การสร้างภาพอนาคต (scenario) เป็นวิธีการมองอนาคต (foresight) อย่างหนึ่งที่มีรากฐานมาจากวิธีการเดียวกันของ future study แต่มีที่จุดเด่นของการมองอนาคตแบบ foresight กล่าวคือเน้นให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมและพยายามประมวลควา ...
    • การทบทวนและระดมความคิดเห็นเพื่อสังเคราะห์ประเด็นการวิจัยเรื่อง "โครงการสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยด้านบริการสุขภาพ" 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล; Somchai Suksiriserekul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การทบทวนและระดมความคิดเห็นเพื่อสังเคราะห์ประเด็นการวิจัยเรื่อง"โครงการสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยด้านบริการสุขภาพ" การศึกษาครั้งนี้เพื่อสังเคราะห์ประเด็นวิจัยที่มีลำดับความสำคัญสูง และความเร่งด่วนมากในการแก้ไขปัญหาของโครงกา ...
    • การประกันสุขภาพและความล่าช้าในการเข้าถึงและรับการดูแลรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย 

      ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล; Tippawan Liabsuetrakul; หมิวมินอู; Myo Minn Oo; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; นริศ บุญธนภัทร; Naris Boonthanapat; เททโกโกออง; Htet Ko ko Aung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      บทนำ วัณโรคเป็นหนึ่งในโรคติดต่อที่เป็นภาระต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจของโลกโดยเฉพาะในประเทศที่ประชาชนมีรายได้ต่ำและปานกลางรวมถึงประเทศไทย วัณโรคเกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis สามารถแพร่จากผู้ติดเชื้อไปยังผู้อื่นผ ...
    • การประมาณสถานการณ์ด้านการเงินของสถานพยาบาล ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในปี 2545 

      ศรชัย เตรียมวรกุล; Sornchai Thiemworakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในการดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้านต่อสถานพยาบาล ส่วนหนึ่งคือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดสรรงบประมาณจากระบบเดิมไปสู่ระบบการเหมาจ่ายตามประชากรที่ขึ้นทะเบียนกับสถานพยาบาล ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่อง 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ขวัญพุทธา อรุณประเสริฐ; Kwanputtha Arunprasert; พรอุมา ราศรี; Pornuma Rasri; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; ศุภสุดา โพธิ์โสรีย์; Supasuda Posoree; นิชาต์ มูลคำ; Nicha Moonkham; นุชพงศ์ จงโชติชัชวาลย์; Nuchapong Jongchotchatchawal; วิศวะ มาลากรรณ; Wissawa Malakan; วิลาสินี สำเนียง; Wilasinee Samniang; ธนกร เจริญกิตติวุฒ; Thanakorn Jalearnkittiwut; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; ศิริกัลยาณ์ สุจจชารี; Sirikanlaya Sujjacharee; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
      นโยบาย “30 บาท รักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” เป็นนโยบายภาครัฐจากแผนขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2567 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับระบบบริการสุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพจากหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระ ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องแมมโมแกรม และอัลตราซาวด์ในผู้หญิงที่มีความเสี่ยงสูง ในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ศิวนัย ดีทองคํา; Siwanai Deethongkum; ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์; Chathaya Wongrathanandha; ธวัชสภณ ธรรมบํารุง; Tawasapon Thambamroong; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)
      โรคมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในมะเร็งที่พบในเพศหญิงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยขึ้นอยู่กับระยะที่ตรวจพบ การตรวจคัดกรองเพื่อให้พบมะเร็งเต้านมตั้งแต่ระยะแรกเริ่มเพื่อส่งต่อเข้าสู่กระบ ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์ในการจัดบริการครอบฟันโลหะไร้สนิมในฟันน้ำนม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วรางคณา จิรรัตนโสภา; Varangkanar Jirarattanasopha; วรมน อัครสุต; Voramon Agrasuta; วรุต ชลิทธิกุล; Warut Chalittikul; นพวรรณ โพชนุกูล; Noppawan Pochanukul; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)
      ปัจจุบันการรักษาฟันผุในฟันน้ำนมด้วยการบูรณะฟันด้วยวัสดุอุด การรักษารากฟัน และการถอนฟันอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แต่การบูรณะด้วยครอบฟันโลหะไร้สนิมไม่อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ครอบฟันโลหะฯ เป็นครอบฟันสำเร็ ...
    • การวิจัยจากเอกสารเพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและผลลัพธ์ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูงที่แผนกผู้ป่วยนอกระหว่างกองทุนประกันสุขภาพ 

      วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      โรคความดันโลหิตสูงอยู่ในกลุ่มโรคเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุดโรคหนึ่งในประเทศไทย ซึ่งทำให้เกิดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่สูงมาก สืบเนื่องจากต้นทุนนี้เอง ทำให้ความกังวลเกี่ยวกับเรื่องประสิทธิภาพของการรักษาโรคความดันโลหิตสูงจึงได้ถ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV