เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Cannabis"
แสดงรายการ 1-14 จาก 14
-
การทบทวนขอบเขตและสังเคราะห์องค์ความรู้เรื่องพัฒนาการล่าสุดของนโยบายด้านกัญชา และผลกระทบของนโยบายอนุญาตให้กัญชาถูกกฎหมายในประเทศที่ใช้นโยบายนี้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)รายงานฉบับนี้เป็นผลของการทบทวน สังเคราะห์และจัดการองค์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมาตรการควบคุมกัญชา และผลกระทบของการออกกฎหมายอนุญาตให้ใช้กัญชาเพื่อนันทนาการ (Recreational Cannabis Legalization) ในต่างประเทศ ... -
การพัฒนารูปแบบชุมชนเป็นศูนย์กลางในการป้องกันการใช้กัญชาในทางที่ผิด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ความเป็นมา สืบเนื่องจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สมุนไพรควบคุม (กัญชา) พ.ศ. 2565 ส่งผลให้สารสกัดจากทุกส่วนของพืชกัญชาหรือกัญชง ไม่ถูกจัดให้เ ... -
การวิจัยประเมินผลกระทบจากนโยบายกัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ระยะที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2564)ด้วยมีความจำเป็นที่จะต้องมีข้อมูลประเมินผลนโยบายที่ดี หลังจากที่ประเทศไทยมีระบบกัญชาทางการแพทย์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562 ... -
การวิจัยเชิงสังเคราะห์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์ของการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์นโยบายกัญชาทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยประกอบด้วยการศึกษา 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ การทบทวนวรรณกรรมเพื่อประเมินผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิ ... -
การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญของพืชกัญชาในอาหาร เครื่องดื่ม เครื่องปรุงและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีส่วนผสมของกัญชา/กัญชง: แนวทางเชิงนโยบายระบบสุขภาพ ลดการเข้าถึงในกลุ่มเปราะบางที่เป็นเด็กและเยาวชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)ที่มา: กัญชา (Cannabis sativa L.) เป็นพืชที่ได้รับความสนใจในวงการแพทย์และสาธารณสุข เนื่องจากมีสารสำคัญที่สามารถนำมาใช้ในทางการแพทย์ได้ เช่น กระตุ้นการอยากอาหาร ลดความเครียด และลดอาการชัก อย่างไรก็ตาม ความนิยมในการผสมกัญช ... -
การศึกษาสถานการณ์การใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)นับตั้งแต่การออกพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซึ่งบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 และการนิรโทษการครอบครองกัญชา ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ ... -
การศึกษาหารหัสพันธุกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในกลุ่มประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)จุดประสงค์ของการวิจัย คือ ต้องการหาการเปลี่ยนแปลงในยีนที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในคนไทย โดยศึกษาในคนไทยที่ติดกัญชา จำนวน 144 คน และคนที่มีประวัติการใช้กัญชาแต่ไม่ติด จำนวน 20 คน ซักประวัติและเก็บเลือดหรือน้ำลายเพื่อไปสกัด ... -
การสำรวจความคิดเห็นสาธารณะในสื่อสังคมออนไลน์ และข่าวอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับกัญชาในหนังสือพิมพ์ก่อนและหลังการออกนโยบายกัญชา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)ประเด็นกัญชาเสรีเป็นเรื่องใหม่และอยู่ในกระแสความสนใจสำหรับคนไทย การทำความเข้าใจความคิดเห็นและท่าทีที่มีต่อกัญชาผ่านวาทกรรมทางสังคมในสื่อสังคมออนไลน์จึงเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องแสวงหาความจริงเพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้พื้นฐาน ... -
การสำรวจพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติดชนิดอื่น การเข้าถึงความรู้ และทัศนคติต่อกัญชาในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาและเยาวชนนอกสถานศึกษา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ย่อย 4 ข้อ ได้แก่ 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติด การเข้าถึง แบบอย่างการใช้ฯ การรับรู้ประโยชน์/โทษ ผลกระทบของการใช้กัญชาต่อตนเองและผู้อื่น และทัศนคติต่อกัญชาในนักเรียนระดั ... -
การสำรวจพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติดในประชากรไทย ผลกระทบจากกัญชาต่อความเป็นธรรมทางสุขภาพ และต้นทุนการเจ็บป่วยจากการใช้กัญชา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-09)การนำพืชกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษประเภท 5 ในปี พ.ศ. 2565 โดยมีการอนุญาตให้ปลูก จำหน่าย และทำให้เกิดการใช้กัญชาได้ในประเทศไทยนอกหนือจากการใช้ทางการแพทย์ จำเป็นต้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องถึงจำนวน ... -
ประเด็นเชิงนโยบาย การวิจัยที่สำคัญเร่งด่วนและข้อเสนอแนะเบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายกัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ภูมิหลังและเหตุผล: ประเทศไทยมีระบบกัญชาทางการแพทย์เป็นครั้งแรกที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำถามเชิงนโยบายและวิจัยที่สำคัญเพื่อการติดตามและประเมินผลนโยบายกัญชาทา ... -
ประโยชน์และโทษที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้กัญชาในทางการแพทย์และการเปิดเสรีการใช้กัญชา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)กัญชาเป็นพืชที่มีสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและที่ก่อให้เกิดการเสพติดซึ่งมีทั้งประโยชน์และโทษหลายประการ กัญชาถูกจัดไว้ในรายการยาเสพติดตามกฎหมายของหลายๆ ประเทศ รวมถึงประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2558-2559 มีความเคลื่อนไหวจากหน่วยงานขอ ... -
รูปแบบการใช้ผลิตภัณฑ์จากกัญชาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดสงขลา ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)วัตถุประสงค์ โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อ 1) อธิบายรูปแบบพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและผลกระทบจากการใช้กัญชาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และสร้างแบบสอบถามเพื่อ 1) ศึกษาผลของการใช้กัญชาเพื่อรักษาโรคต่อความร่วมมือในการรักษา ... -
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 6 บทความ ได้แก่ 1) ลักษณะความเหลื่อมล้ ...