Now showing items 1-20 of 123

    • The Last Mile of UHC in Thailand, Do We Reach the Vulnerable. 

      พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; อุทุมพร วงษ์ศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-30)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอน ...
    • Patterns of Outpatient Services and Charge for Patients Enrolled in the Universal Health Coverage Scheme 

      คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      Background: In 2011, the Universal Health Coverage (UHC), which is a public health insurance scheme, covered approximately 48.3 million (74.3%) of the Thai population. This study aims to examine the patterns of outpatient ...
    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม : การพัฒนาและประโยชน์ในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การพัฒนากลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมในประเทศไทย เริ่มอย่างเป็นระบบในปี 2536 เมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถปี 2535 โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เพื่อเป็นทางเลือกของวิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ...
    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของผู้ที่สังคมต้องช่วยเหลือเกื้อกูล การพัฒนาและการนำไปใช้ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การวินิจฉัยโรคร่วมของผู้ที่สังคมต้องช่วยเหลือเกื้อกูลการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในมีความสลับซับซ้อนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง ในสหรัฐอเมริกา สวัสดิการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุประสบปัญหาค่าใช้จ่ายสูงเพราะวิธีการคุ้มครองค่ารักษาพยาบ ...
    • กลไกการจ่ายเฉพาะสำหรับบริการการดูแลระยะกลาง 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • กลไกการใช้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และด้านการเงินและบัญชี เพื่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระดับจังหวัด และประเมินระบบสุขภาพของจังหวัด 

      ศศิธร ธนะภพ; Sasithon Tanapop; อรทัย เขียวเจริญ; นิลวรรณ อยู่ภักดี; พารุณี ยิ้มสบาย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบุคคลภายในจังหวัด เชื่อมโยงระหว่างความจำเป็นทางสุขภาพและการใช้บริการสุขภาพของประชากร รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในด้านซื้อบริการสุขภาพที่ระดับจังหวัด ...
    • การขับเคลื่อนนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในประเทศไทย 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (rational drug use; RDU) คือ การที่ประชาชนได้รับยาที่เหมาะสมกับความจำเป็นด้านสุขภาพในขนาดและระยะเวลาที่ถูกต้อง เกิดเป็นค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดต่อตัวผู้ป่วยและสังคม การพัฒนาแนวคิด RDU ให้เป็นนโยบายที่นำ ...
    • การคลังสาธารณสุขในประเทศไทย 

      โดแนลสัน, เดล; Donaldson, Dayl; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supasit Pannarunothai; Viroj Tangcharoensathien (2008-12-04)
      การคลังด้านสุขภาพในประเทศไทย : รายงานด้านวิชาการในอดีตที่ผ่านมา ระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยมีการขยายตัวการใช้เทคโนโลยีด้านการแพทย์อย่างรวดเร็ว จนทำให้คนไทยพึ่งการใช้บริการการแพทย์เพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันพฤติกรรมการดูแลสุขภ ...
    • การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดประเภทระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ เนื่องจากถ้ามีระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ดี ประเทศจะสามารถควบคุมรายจ่ายด้านสุขภาพโดยรวม มีบริการที่มีคุณภาพ ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพสูง รวมทั้งแก้ปัญหา ...
    • การติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีที่หนึ่ง (2544-45) 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ศรชัย เตรียมวรกุล; นิภา ศรีอนันต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานนี้สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะจากโครงการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปีที่หนึ่ง (2544-45) ซึ่งประกอบด้วยการศึกษาในสี่ด้าน คือ สวัสดิการข้าราชการและครอบครัว โครงการประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน ...
    • การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรณู ศรีสมิต; สุภัค ปิติภากร; กมล วีระประดิษฐ์; บุญรัตน์ วราชิต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การวิจัยและพัฒนา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ตั้งบนสมมติฐานว่า การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณทางคลินิก ...
    • การปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสหราชอาณาจักร สวีเดน และเนเธอร์แลนด์ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (2537)
      เมื่อวันที่ 24 มกราคม ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2537 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วยคณะผู้บริหารระดับสูงและนักวิชาการ จำนวน 33 คน ได้ไปศึกษาดูงานการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของ 3 ประเทศในทวีปยุโรป ผู้เขียนซึ่งเป็นหนึ่งใน ...
    • การประเมินผลการดูแลสุขภาพระยะกลางของผู้สูงอายุในประเทศไทยตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 

      ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods) ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางในผู้สูงอายุตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 2) ประเมินผลการดำเนินงานกา ...
    • การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ...
    • การพัฒนากลุ่มโรคร่วมผู้ป่วยในจิตเวช ฉบับที่ 3 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; เบ็ญจมาส พฤกษ์กานนท์; Benjamas Prukkanone; นิชนันท์ รอดเนียม; Nichanan Rodneam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      บริการผู้ป่วยจิตเวชเป็นเรื่องสำคัญในการจัดระบบบริการสุขภาพ เพราะทรัพยากรที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดกลุ่มโ ...
    • การพัฒนากลไกการจ่ายเงินที่มีประสิทธิภาพในระบบสาธารณสุขด้วยกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม 

      ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
    • การพัฒนาข้อเสนอรูปแบบและโครงสร้างการบริหารเขตสุขภาพ 

      วินัย ลีสมิทธิ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-02-28)
      วัตถุประสงค์และวิธีการศึกษา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการได้แก่ (๑)ค้นหารูปแบบจำลององค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพ รวมทั้งทางเลือกฉากทัศน์ (scenarios) การพัฒนาในอนาคต (๒)พัฒนารูปแบบจำลององค์ประกอบและบทบาทหน้าที่ของคณะกร ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างแรงจูงใจของกำลังคนด้านสุขภาพต่อการทำงานในพื้นที่ห่างไกล 

      พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อติพันธ์ สุวัฒน์เมฆินทร์; Atipan Suwatmakin; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ปัญหาความขาดแคลนกำลังคนทางด้านสุขภาพในเขตพื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ห่างไกล เป็นปัญหาที่เรื้อรังเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน ทางแก้ปัญหาทางหนึ่งคือการใช้แรงจูงใจที่เหมาะสมและสามารถจูงใจให้บุคลากรทางการแพทย์เต็มใจทำงานในพื้นที่ห่างไกล ...
    • การพัฒนาชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมทางสุขภาพโดยอาศัยกลไกประชาคม 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Pinij Faramnuayphol; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การขับเคลื่อนกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ จำเป็นต้องอาศัยพัฒนาการด้านองค์ความรู้ที่นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำพาระบบสุขภาพไปสู่เป้าหมายที่พึงประสงค์ได้ ด้านหนึ่งของการปฏิรูประบบสุขภาพให้ความสำคัญกับประเด็นด้านประสิทธิภาพ ...
    • การพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อส่งเสริมการวิจัยผลลัพธ์ทางสุขภาพ 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; Nathon Chaiyakunaprik; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      วัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมฐานข้อมูลระบบบริการสุขภาพ และประเมินศักยภาพของฐานข้อมูลต่อการนำไปใช้วิจัยเพื่อประเมินผลลัพธ์ทางสุขภาพ (health outcomes research) ความเป็นธรรมทางสุขภาพเป็นผลลัพธ์ที่สำคัญอย่างหนึ่ง ระเบียบวิธีวิจัย ...