Now showing items 121-136 of 136

    • ลักษณะความเหลื่อมล้ำในแต่ละมิติของลูกบาศก์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ข้อค้นพบจากข้อมูลสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (universal health coverage: UHC) แต่ยังมีความท้าทายที่สำคัญด้านความไม่เสมอภาคของผู้ใช้บริการระบบสาธารณสุข ได้แก่ ความคุ้มครองภาระค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่าเทีย ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 ประกอบด้วย จดหมายถึงบรรณาธิการ เรื่อง ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี และกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา และการใช้กัญช ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2564 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2564 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการเรื่อง มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) เศรษฐศาสตร์ก ...
    • วิเคราะห์การหาแหล่งเงินเพิ่มเติมสำหรับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์; Worawan Chanduaiywit; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; Maslove, Allan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยได้ผ่านการปฏิรูปครั้งสำคัญในปี 2544 เมื่อเริ่มมีการดำเนินการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือรู้จักกันดีในนามของ “โครงการ 30 บาท” ในฐานะที่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าถือได้ว่าเป็น entitlement ...
    • สถานการณ์บริการบำบัดทดแทนไตในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) สถานการณ์บริการบำบัดทดแทนไตในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เนื้อหาประกอบด้วย 1) บริการบำบัดทดแทนไต 2) การเพิ่มขึ้นของผู้รับบริการบำบัดทดแทนไต และงบประมาณบริการ (รวมทุกสิทธิ) 3) การเปลี่ยนแ ...
    • หนึ่งปีแรกของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiamworakul (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2547)
      รายงานวิจัยฉบับนี้เป็นการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศในภาพรวม โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2544 - มิถุนายน 2545 รายงานฉบับนี้แบ่งออกเป็น 9 ตอน ตอนที่ 1 คือ บทนำ ตอนที่ 2 กล่าวถึงแนวคิดคว ...
    • หลักการ แนวคิด การจัดสิทธิประโยชน์บริการผู้ป่วยในระยะเฉียบพลัน 

      ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • หลักการ แนวคิดการจัดระบบการดูแลระยะยาว 

      ศิริวรรณ อรุณทิพย์ไพฑูรย์; Siriwan Aruntippaitoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • หลักการ แนวคิดและประสบการณ์การจัดการดูแลระยะยาวในประเทศที่เข้าสู่สังคมสูงอายุ 

      ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์รายจ่ายสุขภาพภาครัฐและครัวเรือนปี พ.ศ. 2537-2564 2) ความท้าทายจากรายจ่ายสุขภาพของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมบริการด้านสุขภาพที่จำเป็น 2) การล้มละลายทางการเงินด้านสุขภาพ และ 3) ผลลัพธ์ของการบรรลุหลักประกันสุขภา ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2545-2546 : รายงานวิจัยเล่มที่1 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiarmworakul; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระหว่างปี 2544-2547 ซึ่งเป็นการสรุปการดำเนินงานของโครงการที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันสุขภาพของภาครัฐที่สำคัญ 4 โครงการคือ โครงการสวัสดิการข้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น : ความเป็นไปได้ของการบรรลุความครอบคลุมถ้วนหน้า 

      วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพทั่วหน้ากับการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข การทบทวนองค์ความรู้นี้ เป็นการตรวจสอบองค์ความรู้เชิงทฤษฎีและประสบการณ์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ...
    • แนวคิดของสังคมต่อหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สุภาภรณ์ เตโชวาณิชย์; Supaporn Techowanit (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      ปี พ.ศ. 2544 รัฐบาลประกาศสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนทุกคน ตามโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ครอบคลุมขอบเขตทั่วประเทศอย่างรวดเร็ว ทำให้ประชาชนทุกคนมีความรับรู้และเข้าใจใกล้ชิดกับนโยบายฯ แตกต่างจากเมื่อปี พ.ศ. 2542 ...
    • แนวโน้มอุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง อัตราการรอดชีพหลังรับการรักษาด้วยวิธีผ่าตัดหนีบหลอดเลือดโป่งพองและวิธีอุดหลอดเลือดโป่งพองด้วยขดลวดในประเทศไทย และการวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผล 

      พิชเยนทร์ ดวงทองพล; Pichayen Dungthongphon; อำนาจ กิจควรดี; Amnat Kitkhuandee; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโป่งพองและการเข้าถึงการรักษา และผลลัพธ์ในผู้ป่วยที่ได้รับหัตถการ clipping หรือ coiling รวมทั้ง 2) ศึกษาว่าอุปกรณ์ขดลวดสำหรับ coiling ควรบรรจุอยู ...