Now showing items 21-40 of 62

    • การสังเคราะห์มาตรการและนโยบายของรัฐบาลเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 จากผลการประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนไทยต่อมาตรการต่างๆ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumon; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ส่งผลให้รัฐบาลไทยประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม - 30 เมษายน พ.ศ. 2563 และรณรงค์มาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ...
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ...
    • ความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet health need) กรณีผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและบริการทันตกรรม ในประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; ศศิรัตน์ ลัพธิกุลธรรม; Sasirat Lapthikultham; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐสามระบบหลัก ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้มากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาพยาบาล ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananonta; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้ ...
    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชน 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชนฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพในการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาลในภาครัฐ ให้สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การเงินการคลังของตนเองได้ เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อรอ ...
    • คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumon; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      เอกสารคู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปฉบับนี้ เป็นงานส่วนหนึ่งของการจัดทําแผ่นซีดีช่วยสอนเรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาล ซึ่งสํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (International Health Policy ...
    • จุดเริ่มต้นในการพัฒนาการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืช 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; พรรัชดา มาตราสงคราม; Pohnratchada Mattrasongkram; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; ไมตรี พรหมมินทร์; Maitree Prommintara; พรพิมล อธิปัญญาคม; Pornpimon Athipunyakom; แสนชัย คำหล้า; Saenchai Khamlar; ศิริพร ดอนเหนือ; Siriporn Donnua; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการบริโภคยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 1 แนวทางการปฏิรูปการเงินการคลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วลัยพร พัชรนฤมล; ไมเคิล ซิชอน; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      งานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 แต่ได้รับงบประมาณอุดหนุนอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยืนทางการเงิ ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 2 ความเป็นไปได้ของแหล่งการเงินต่างๆ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      แหล่งการเงินหลักของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบันเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 39 กำหนดให้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมี 8 แหล่งเงิน การศึกษานี้มีวัตถุประส ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 4 พรบ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า-ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัยที่มุ่งกำไรเป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด กฎหมายนี้ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาลไม่เกินเพดานที่กำหนด ...
    • ตอบข้อสังเกตจุดอ่อนของที่มา 1,202 บาทต่อคนต่อปี ของนพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโนทัยและคณะ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
    • ต้นทุน และประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียม ภาครัฐและเอกชนในปี 2544 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; สุวรรณา มูเก็ม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน โครงสร้างต้นทุน ประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียมภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2544 โดยใช้วิธีการสำรวจ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคา ปริมาณการบริการฟอกเลือด ...