Now showing items 21-29 of 29

    • ความคุ้มค่าของการผ่าตัดต้อกระจกโดยใส่เลนส์แก้วตาเทียมชนิดนิ่มเปรียบเทียบกับชนิดแข็งในบริบทของประเทศไทย 

      กัลยา ตีระวัฒนานนท์; รักมณี บุตรชน; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; ธีระ ศิริสมุด; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ขวัญใจ วงศ์กิตติรักษ์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเข้าถึงการผ่าตัดต้อกระจกและปัจจัยที่มีผลต่อการผ่าตัดต้อกระจกในผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการข้าราชการและสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) ข้อมูลผู้ป่วยในที่มีสิทธิสวัสดิ ...
    • ความคุ้มค่าและผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายของการผ่าตัดผ่านกล้องในระบบประกันสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      วชิรานี วงศ์ก้อม; คัคนางค์ ไชยศิริ; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP)สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-09)
      การผ่าตัดผ่านกล้องเป็นการผ่าตัดโดยใช้กล้องใส่เข้าไปตรวจภายในช่องท้องเพื่อการรักษาหรือตรวจวินิจฉัย เมื่อเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง ผู้ป่วยที่ผ่าตัดผ่านกล้องจะมีแผลผ่าตัดที่มีขนาดเล็กกว่า ทำให้สูญเสียเลือดน้อยกว่า ...
    • คู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Usa Chaykhetkaew; Yot Teerawatananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      คู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทยเล่มนี้ ให้ความสนใจในวิธีการประเมินความคุ้มค่าทางการแพทย์เป็นอันดับแรก เนื่องจากการประเมินความคุ้มค่าทางการแพทย์เป็นสาขาวิชาที่ค่อนข้างใหม่ในประเทศไทย และพบว่างานวิจัยที่ ...
    • ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการขาดงานและด้อยประสิทธิภาพการทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์ 

      กรรณิการ์ ฐิติบุญสุวรรณ; Khannika Thitiboonsuwan; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจจากการขาดงานและการสูญเสียประสิทธิภาพขณะทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์ใน พ.ศ. 2550 โดยทำการสำรวจแบบภาคตัดขวางในประชากรไทย อายุ 15-60 ปี ที่มีงานทำในรอบ 7 วันก่อนการสำรวจ จาก ...
    • ผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชากรไทย 

      ประพักตร์ เนรมิตพิทักษ์กุล; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; จอมขวัญ โยธาสมุทร; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; ศยามล สุขขา; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; นุสรา สัตย์เพริศพราย; สาครินทร์ บุญบรรเจิดสุข; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-25)
      การใช้ยาสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ตลอดจนรวมถึงค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*15:02 เพื่อประกอบการใช้ยา carbamazepine ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แผ่นปิดกะโหลกศีรษะเฉพาะบุคคล ผลิตจากโลหะไทเทเนียมด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ สำหรับผู้ป่วยกะโหลกศีรษะยุบในการศึกษาวิจัยทางคลินิกแบบหลายสถาบัน 

      บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒน; Boonrat Lohwongwatana; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เชษฐา พันธ์เครือบุตร; Chedtha Puncreobutr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะส่งผลดีต่อทั้งสภาพร่างกายและสภาพจิตใจของผู้ป่วยตั้งแต่การรักษาความปกติของกลศาสตร์การไหลของของเหลวภายในสมอง ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายตลอดจนส่งผลต่อรูปลักษณ์ภายนอก การเข้าสังคม สภาพจิตใจของผู้ป่วยและทำ ...