Now showing items 21-35 of 35

    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • คุณภาพการสั่งใช้ยาผู้ป่วยนอก: ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล 18 แฟ้มมาตรฐานของโรงพยาบาล 

      อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พิมประภา กิจวิธี; รัชตะ อุลมาน; วราภรณ์ สายสุนันทรารมย์; สมชาย สุริยะไกร; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Areewan Cheawchanwattana; Onanong Waleekhachonloet; Thananan Rattanachotphanit; Pimprapa Kitwitee; Ratchata Unlamarn; Waraporn Saisunantararom; Somchai Suriyakrai; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล จะช่วยให้เกิดสมดุลทางการเงินการคลังด้านสุขภาพ ในปัจจุบันโรงพยาบาลบันทึกข้อมูลการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐาน การวิเคราะห์เพื่อประเมินคุณภาพการสั่งใช้ยายังมีอยู่จำกัด ...
    • ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการกับการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นพคุณ ธรรมธัชอารี; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พัชนี ธรรมวันนา; สุพล ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Chulaporn Limwattananon; Noppakun Thammatacharee; Onanong Waleekhachonloet; Patchanee Thamwanna; Supon Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      เป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษแล้วที่ค่าใช้จ่ายของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งใช้ระบบการจ่ายเงินแบบปลายเปิดเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหลังที่ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกสูงกว่าผู้ป่วยใน การวิเคราะ ...
    • ค่าใช้จ่ายที่พยากรณ์จากการใช้ยาราคาแพงของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ : เปรียบเทียบกับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; พรพิศ ศิลขวุธท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; Areewan Cheawchanwattana; Pornpit Silkavute; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      ยาซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกมีแบบแผนการใช้ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการที่แตกต่างจากระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การศึกษานี้วิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา 57 เดือน ระหว่างปี 2546 – 2550 และพยากรณ์การส ...
    • ค่าใช้จ่ายและการใช้ยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาล : ผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Suraphon Limwatananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Chulaporn Limwattananon; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การประเมินผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อค่าใช้จ่ายและลักษณะการใช้ของ 9 กลุ่มยาในการวิจัยนี้ อาศัยการวิเคราะห์แบบทุติยภูมิสำหรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยนอกระหว่างปีงบประมาณ 2543-2545 ...
    • ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแบบไร้รอยต่อและครอบคลุมด้วยระบบสุขภาพระยะไกล 

      ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย; Sirirat Anutrakulchai; สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; อัมพรพรรณ ธีรานุตร; Ampornpan Theeranut; อุบล ชาอ่อน; Ubon Cha’on; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; Bandit Thinkhamrop; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ชลธิป พงศ์สกุล; Chonlatip Pongsakul; ณิชานันทน์ ปัญญาเอก; Nichanun Panyaek; เอกลักษณ์ ลักขณาลิขิตกุล; Eakalak Lukkanalikitkul; ธีรวัฒน์ มธุรส; Teerawat Mathuros; พัทธนันท์ คงทอง; Phatthanunt Khongthong; ณฐาภพ ชัยชญา; Nathaphop Chaichaya; ธิดารัตน์ มงคลสุคนธรัก; Thidarut Mongkolsukontharuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการป้องกันและชะลอโรคไตเรื้อรังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ดำเนินการสร้างรูปแบบ (โมเดล) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดปัญหาสุขภาพในชุมชน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่าสิ่งที่มีผลต่อการดูแลรักษาที่ดี คือ การได้รับการดูแลแบบเ ...
    • ปริมาณและมูลค่าการสั่งยาต้านแบคทีเรียแก่ผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ที่มา: การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผลมีผลทำให้เกิดโรคติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เป็นปัญหาทั้งทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านแบคทีเรีย (ซึ่งเป็นส่วนหนึ ...
    • ผลลัพธ์ต่อพฤติกรรมการสั่งยาและผู้ป่วยจากการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เชิดชัย สุนทรภาส; Cheardchai Soontornpas; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; รัชฎาพร สุนทรภาส; Ratchadaporn Soontornpas; เบญจพร ศิลารักษ์; Benjaporn Silaruks; รัชตะ อุลมาน; Ratchata Unlamarn; ภคอร อุลมาน; Phakaon Unlamarn; นรภัทร จิตไธสง; Norapat Jitthaisong; ธิติ ทุมเสน; Thiti Tumsen; พิมพ์ประภา กิจวิธี; Pimprapa Kitwitee; จาติกา รัตนดาดาษ; Jatica Ratanadadas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03)
      งานวิจัยนี้ประเมินผลการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (นโยบาย RDU Hospital/RDU Service Plan) โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดจากนโยบาย อาศัยการวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มของตั ...
    • ผู้ป่วยด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู่มากน้อยแค่ไหน: รายงานจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์; Amonrat Manawatthanawong; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases: NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญและเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพโดยเฉพาะการสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และการมีกิจกรร ...
    • มาตรการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลภาครัฐ: การทบทวนและวิเคราะห์กลไกเชิงนโยบายระดับชาติ 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; หนึ่งฤทัย สุกใส; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พิมประภา กิจวิธี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; เชิดชัย สุนทรภาส; ธนภร ชัยจิต; พรพิศ ศิลขวุธท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; Nungrutai Sooksai; Acharawan Topark-ngarm; On-anong Waleekhachonloet; Pimprapa Kitwiti; Thananan Rattanachotphanit; Cherdchai Soontornpas; Thanaporn Chaijit; Pornpit Silkavut; Samrit Srithamrongsawat; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคาแพงเป็นสาเหตุของการเติบโตอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพโดยเฉพาะระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ การศึกษานี้ทบทวนกลไกระดับชาติในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาครัฐที่เคยมี ...
    • มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา ...
    • ลักษณะทางประชากรและสังคมของบุคคลที่เสี่ยงต่อวงจรอุบาทว์ “โง่-จน-เจ็บ”: ข้อค้นพบจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      จิรพันธุ์ จรัสภัทรโรจน์; Jiraphan Jaratpatthararoj; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; กาญจนา ศิริโกมล; Kanjana Sirigomon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      เป้าประสงค์หลักของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือการทำให้ประชาชนมีสิทธิในการใช้บริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคด้านการเงิน เป็นการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นสำหรับคนทุกคน และลดภาระรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน ...
    • ศักยภาพการประหยัดค่าใช้จ่ายจากการกำหนดอัตราเบิกจ่ายค่ายาผู้ป่วยนอกสำหรับสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการปี 2553 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นพคุณ ธรรมธัชอารี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; พรพิศ ศิลขวุธท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Chulaporn Limwattananon; Noppakun Thammatacharee; Thananan Rattanachotphanit; Pornpit Silkavute; Supon Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาสำหรับผู้ป่วยนอกในระบบจ่ายตรงของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการยังคงสูงอย่างต่อเนื่องในปี 2552-2553 เนื่องจากการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติในสัดส่วนที่มาก แม้โรงพยาบาลหลายแห่งจะมีการดำเนินมาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย ...
    • สถานการณ์การเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลและการมีผู้ดูแลในขณะพักฟื้นของผู้สูงอายุในประเทศไทย 

      คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Ieawsuwan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachodpanich; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      สัดส่วนผู้สูงอายุในประเทศไทยเท่ากับร้อยละ 16 ของประชากรทั้งหมดในประเทศ เฉพาะผู้สูงอายุที่ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลนั้น เมื่อจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ส่วนใหญ่ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวัน การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เ ...
    • สถานการณ์ด้านการเข้าถึงยา 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร