• การประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนความรู้และค้นหามาตรการคัดกรองโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองในระดับประชากร โดยรวบรวมข้อมูลแนว ...
    • การประเมินระบบข้อมูลและรายงานสุขภาพนักเรียนในงานบริการอนามัยโรงเรียนระดับประถมศึกษา: กรณีศึกษาสองจังหวัดในประเทศไทย 

      นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; อรพรรณ โพธิหัง; Orapan Phothihang; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; Naiyana Praditsitthikorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมกันดำเนินโครงการ “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านสุขภาพควบคู่ไปกับการศึกษา โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำ ...
    • การประเมินระบบบริหารจัดการการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย 

      วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (National Health Examination Survey: NHES) ในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 และดำเนินการเรื่อยมาทุก 5 ปี การสำรวจนี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 วิธีหลัก ได้แก่ ...
    • การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กุนที พลรักดี; Kunnatee Ponragdee; อรรถวิทย์ ยางธิสาร; Atthawit Yangtisan; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; สุพัฒศิริ อึ้งมณีภรณ์; Supatsiri Uengmaneeporn; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ...
    • การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายของผู้มีส่วนได้เสียจากการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาในประเทศไทย 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; โชติรส ละอองบัว; Chotiros Laongbua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เมื่อ พ.ศ. 2549 และ 2550 รัฐบาลไทยประกาศใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาด้านเอชไอวีและยาสลายลิ่มเลือดรวม 3 รายการ. นโยบายดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้ป่วยที่รับการรักษาพยาบาลในภาครัฐเข้าถึงยามากขึ้น ซึ่งเป็นไปตามมาตรการยืดหย ...
    • การศึกษาการขยายบริการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดในประเทศไทย: ความเป็นไปได้ ต้นทุน และความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ 

      ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พิทยาพล ปีตธวัชชัย; Pittayapon Pitathawatchai; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การได้ยินเป็นพื้นฐานสำคัญของการพูดและพัฒนาการทางภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอายุ 3 ปีแรกของชีวิต หากเด็กมีความผิดปกติทางการได้ยินจะส่งผลกระทบโดยตรงกับพัฒนาการด้านการพูดและภาษารวมถึงการเข้าสังคม การเรียน ภาวะจิตใจ ความจำ ...
    • การศึกษาการเข้าถึงและความเป็นไปได้ในการจัดบริการการให้คำปรึกษาเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในโรงพยาบาล 

      สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; สลักจิต ชื่นชม; Salakjit Chuenchom; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; จิตติ วิสัยพรม; Jitti Wisaiprom; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08)
      การให้คำปรึกษาเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ เป็นการช่วยบุคคลให้เผชิญกับผลที่เกิดจากความพิการโดยการให้คำปรึกษาด้านส่วนตัว การแพทย์ การศึกษา สังคม อาชีพ และเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อช่วยให้คนพิการหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจ ...
    • การศึกษาทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับให้บริการอนามัยโรงเรียนระดับประถมศึกษาในประเทศไทย 

      อรพรรณ อ่อนจร; Orapan Onjon; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; Naiyana Praditsitthikorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ในประเทศไทยมีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กวัยเรียนผ่านโครงการอนามัยโรงเรียนโดยความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิกับโรงเรียน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทรัพยากรในการให้บริการอนามัยโรงเรียนร ...
    • การศึกษาผลกระทบของการผูกขาดทางการตลาดของยาใหม่ภายใต้โครงการติดตามความปลอดภัย 

      Sripen Tantivess; Sukunya Jierapong; Anchalee Jitraknatee; Suwimol Chakajnarodom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      The effects of the New Drug Registration Regulations on generic availability in Thailand การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาผลกระทบที่มีต่อการมียาสามัญ (ยาเลียนแบบ) ของตำรับยาที่ถูกจัดว่าเป็นยาใหม่ ซึ่งเป็นผลจากมาตรการด ...
    • การสร้างขีดความสามารถสำหรับการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; อดุลย์ โมฮารา; Adun Mohara; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ลัดดา ดำริการเลิศ; Ladda Damrikarnlerd; สุวรรณี ละออปักษิณ; Suwannee Laoopugsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การสร้างขีดความสามารถของการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพนั้นมีความสำคัญในการสนับสนุนให้เกิดศักยภาพที่จำเป็นสำหรับการบรรลุเป้าหมายทางด้านสุขภาพที่ตั้งไว้ ปัจจุบันการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพส่วนหนึ่งประสบกับปัญหาอันเนื่องมาจากผ ...
    • การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงยากลุ่มโอปิออยด์ สำหรับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-18)
      ปัจจุบันในประเทศไทยมีผู้ป่วยระยะท้ายที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์จัดเป็นยาที่จำเป็นในการบรรเทาอาการปวดชนิดรุนแรง ซึ่งช่วยลดความทรมานและทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน ...
    • การหาปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเลือกวัคซีนใหม่ในประเทศไทยโดยวิธี best-worst scaling 

      ศิริพร ภูริภัสสรกุล; Siriporn Pooripussarakul; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; จรุง เมืองชนะ; Charung Muangchana; Bishai, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การนำวัคซีนใหม่เข้ามาใช้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ นโยบาย แนวทางปฏิบัติ และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ จึงพิจารณาปัจจัยสำคัญที่แตกต่างกันไปในการนำวัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติ ...
    • การเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ 

      เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; รุ่งนภา คำผาง; พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Saowalak Turongkaravee; Waranya Rattanavipapong; Roongnapa Khampang; Pattara Leelahavarong; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียา จ (2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 ไปสู่การปฏิบัติโดยโครงการประกันสุขภาพภาครัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการสวัสดิการรักษาพย ...
    • การใช้บริการและมูลค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการที่เบิกจ่ายในระบบประกันสุขภาพภาครัฐของไทย 

      ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasan; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การใช้หรือการได้รับบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการจากระบบประกันสุขภาพภาครัฐของประเทศไทย และมูลค่าของอุปกรณ์ฯ เหล่านั้นในปี พ.ศ. 2552-2555 โดยวิเคราะห์ข้อมูลทุติยุภูมิ (Secondary data) ...
    • ข้อเสนอการปฏิรูประบบจัดการงานวิจัยด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      งานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศได้นั้น ต้องอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นระบบของหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...
    • ความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขต่อยาจากสมุนไพรและนโยบายการส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุข 

      คัคนางค์ โตสงวน; ณัฏฐิญา ค้าผล; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; เนติ สุขสมบูรณ์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Kakanang Tosanguan; Nattiya Kapol; Montarat Thavorncharoensap; Neti Suksomboon; Wantanee Kulpeng; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ประเทศไทยมีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพรมาเป็นระยะเวลานานแต่มูลค่าและปริมาณการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานพยาบาลก็ยังไม่บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ในการจะทำให้นโยบายประสบความสำเร็จนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ ...
    • ความพึงพอใจของคนพิการต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์และบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการที่โรงพยาบาลของรัฐใน 8 จังหวัด 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการสุขภาพเป็นผลมาจากประสบการณ์ตรง ในการได้รับบริการเปรียบเทียบกับความคาดหวังต่อการรับบริการ ซึ่งจะมีผลต่อการให้ความร่วมมือในการรับบริการนั้นๆ ผลจากการประเมินความพึงพอใจจะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนา ...
    • บทบาทของการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพในกระบวนการนโยบายสาธารณะ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การพัฒนานโยบายและการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในภาครัฐเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในขณะที่ตัวแสดงจำนวนมากซึ่งมีผลประโยชน์ที่แตกต่างกันเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ตัวแสดงเหล่านี้ทั้งที่เป็นปัจเจกบุคคลและองค์ก ...
    • บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในมุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบาย 

      แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบายต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน 2557 ...
    • ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสองแห่งในกรุงเทพมหานคร 

      สุรชัย โกติรัมย์; พัทธรา ลีฬหวรงค์; กลีบสไบ สรรพกิจ; สุรเดช หงส์อิง; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Surachai Kotirum; Pattara Leelahavarong; Kleebsabai Sanpakit; Suradej Hongeng; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อศึกษาประสบการณ์ของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดที่ประสบความสำเร็จในศูนย์ให้บริการปลูกถ่ายฯ 2 แห่ง ...