Browsing by Subject "การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)"
Now showing items 21-40 of 557
-
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:ประสบการณ์การทำงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:แนวทางการดูแลสุขภาพวัยรุ่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การจัดการทางการแพทย์ในการรับมือเหตุรุนแรงจากความไม่สงบทางการเมืองในวันที่ 29 สิงหาคม และ 2 กันยายน 2551
(สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2551)ในอดีต ประเทศไทยมีเหตุภัยพิบัติเกิดขึ้นหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นภัยพิบัติทาง ภัยจากน้ำมือมนุษย์ และโดยเฉพาะภัยพิบัติที่เกิดจากการเมือง (Civil disaster) ที่แม้จะเกิดขึ้นหลายครั้งแต่ก็ยังส่งผลให้ความสูญเสียมากมาย การตอบสนองทา ... -
การจัดการเรียนการสอนสำหรับบุคคลที่ต้องได้รับการดูแลพิเศษตามแนวมนุษยปรัชญาของ มูลนิธิโรงเรียนต้นรักเพื่อเด็กพิเศษ
(มูลนิธิโรงเรียนต้นรักเพื่อเด็กพิเศษ, 2553) -
การจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันแบบครบวงจร (ปีที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)โครงการวิจัยในปีที่ 1 นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันในประเทศไทยและประเมินความสามารถในการวินิจฉัยยืนยันชนิดของยาที่เป็นสาเหตุด้วยการใช้ Interferon-Gamma ELISpot Assay (IFN-γ ... -
การจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันแบบครบวงจร (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)ผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรง จำนวน 195 ราย ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมในการวิจัยนี้ ผลการศึกษาพบว่าผื่นแพ้ยาชนิด Steven-Johnson syndrome/toxic epidermal necrolysis (SJS/TEN) และ drug reaction with eosinophilia and systemic ... -
การจัดทําฐานข้อมูลไซนัสอักเสบในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)ปัญหาโรคไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย และยังมีปัญหาในการวินิจฉัยและรักษาอยู่มากโรคไซนัสอักเสบมีผลต่อเศรษฐกิจสังคม เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการตรวจและรักษาอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง นอกจากโรคนี้จะทําให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ ... -
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด - 5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ศึกษาการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด-5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ศึกษาโดยการใช้แบบวิจัยเชิงพรรณนา และการสัมภาษณ์เจาะลึก ... -
การจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตสำหรับหน่วยบริบาลปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)โรคไตเสื่อมเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) เป็นโรคที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศไทยและนานาชาติ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังมาก และมีการดำเนินของโรคจนเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้ร ... -
การดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง: การรักษา การเฝ้าระวัง และการป้องกันการติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้องโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-02)ภาวะติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้องเป็นสาเหตุสำคัญของการสิ้นสุดกระบวนการบำบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตทางช่องท้อง การเจ็บป่วย และการเสียชีวิต ตลอดจนเพิ่มค่าใช้จ่ายทางสาธารณสุข ในการรักษาภาวะติดเชื้อดังกล่าวแนวทางกา ... -
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)รายงานการศึกษา การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ ศึกษาขอบเขต แนวทางการประเมินคุณภาพการดูแล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการดูแล คุณภาพของการดูแล ทั้งสถานการณ์ในประเทศไทยและสถานการณ์ในต่างประเทศ อุปสรรคของการดูแล ... -
การดูแลผู้สูงวัยในชุมชน : ระบบ หลักการ แนวทางปฏิบัติ
(สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-01) -
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
(มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2551)คุณรู้หรือไม่ โครงสร้างประชากรของประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ประชากรวัยเด็กลดลง สวนทางกับประชากรสูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ประชากรวัยแรงงานเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ประชากรวัยแรงงาน 100 คน ต้องรับภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุถึง ... -
การดูแลสุขภาพสำหรับผู้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
(สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2551-08)รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน -
การตรวจคัดกรองโรคนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับในหญิงตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูงและการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจแรงดันบวก การรักษาแบบสุ่มตัวอย่างในต่างโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ข้อมูลการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าภาวะนอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับขณะตั้งครรภ์จะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม เช่น ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ครรภ์เป็นพิษ เบาหวานขณะตั้งครรภ์และทารกคลอดก่อนกำหนดและมีข้อมูลว่าการรักษาด้วยเครื่อง ... -
การตรวจวัดปริมาตรเลือดออกในสมองและระยะเคลื่อนของร่องกลางสมองโดยอัตโนมัติเพื่อช่วยแพทย์วินิจฉัยก่อนผ่าตัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)โรคเลือดออกในสมองเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากภาวะที่หลอดเลือดในสมองหรือหลอดเลือดระหว่างกระดูกและสมองแตกออก ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น อุบัติเหตุ โรคความดันโลหิตสูง โรคนี้จำเป็นต้องมีการวินิจฉัยอย่างทันท่วงทีหากมีอาการนำ เช่น ... -
การตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัส โปรตีน NS1 และแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสเด็งกี่จากตัวอย่างน้ำในช่องปาก ในผู้ป่วยเด็กที่สงสัยติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ (ปีที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก เนื่องจากมีผู้ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ ซึ่งมีอาการทางคลินิกมากถึง 390 ล้านคนต่อปี โดยทั่วไปคนที่ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่จะไม่แสดงอาการ แต่มีผู้ติดเชื้อจำนวนหนึ่งที่จะมีอาการทางคลินิก ... -
การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังซึ่งได้รับการฟอกเลือดด้วยวิธีออนไลน์ฮีโมไดอะฟิลเตรชั่นและฮีโมไดอะไลซิส (ปีที่ 1)
(2562-01)ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายมีรายงานพบว่าการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอุบัติการณ์การติดเชื้อสูงกว่ากลุ่มประชากรทั่วไป ปัจจุบันการฟอกเลือด นอกจากใช้วิธีฮีโมไดอะไลซิส (hemodialysis, HD) ... -
การตอบสนองภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม จากการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPa-HB-HIb-IPV หรือ DTPw-HB-Hib+OPV ที่ 2, 4, 6 และ 18 เดือน และ MMR ที่ 9 และ 30 เดือน และระบาดวิทยาภูมิคุ้มกันของโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม ในประชากรไทย สำหรับการวางแผนหลังจากมีการกวาดล้างโปลิโอ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ประเทศไทยมีแผนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนในแผนการให้วัคซีนแห่งชาติในทารก โดยเปลี่ยนวัคซีนรวมชนิด 4 โรค เพิ่มเป็นวัคซีน 5 โรค คือ คอตีบ ไอกรน ทั้งเซลล์บาดทะยัก ตับอักเสบ บี และ วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ Hib จากแผนการให้วัค ... -
การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเภสัชกรชุมชน (ความดันโลหิตสูงและวัณโรคปอด)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง)โดยเภสัชกรชุมชน พบว่าการมีส่วนร่วมของเภสัชกรในการติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชนในประเทศไทย ยังไม่เป็นบทบาทที่ชัดเจนทั้งตัวเภสัชกรเองและวิชาชีพอื่น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่ ...