Browsing by Subject "ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)"
Now showing items 21-40 of 104
-
การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)เนื่องจากประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมรวมถึงโรคอัลไซเมอร์ การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วมีความสำคัญในการป้องกันและรักษาสุขภาพของประชาชน ดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒ ... -
การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยหาแอนติเจนของเลปโตสไปโรซีส และไข้เด็งกี่ แบบอิมมูโครมาโทกราฟีที่ตรวจได้ทั้งสองโรคในชุดตรวจชุดเดียว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-14)จุดประสงค์หลักของการศึกษาโครงการวิจัยนี้คือการพัฒนาชุดตรวจสำเร็จรูปในรูปแบบอิมมิวโนโครมาโทกราฟี (ICT) เพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรคฉี่หนู (leptospirosis) และโรคไข้เลือดออก (Dengue fever) ในลักษณะการตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ ... -
การพัฒนาชุดตรวจวิเคราะห์ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเพื่อช่วยในการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยมะเร็งต่อมลูกหมาก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในเพศชาย ปัจจุบันวิธีตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย คือ การตรวจระดับ prostate specific antigen (PSA) ในซีรั่ม แต่การใช้ค่า PSA เพียงอย่างเดียวมีข้อเสีย เนื่องจาก PSA ... -
การพัฒนาชุดตรวจสำเร็จรูป (แบบ ELISA และ แบบรวดเร็ว) เพื่อตรวจหา antifilarial IgG4 ที่จำเพาะต่อพยาธิเท้าช้างโดยใช้ ecombinant antigen
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)โรคเท้าช้างเกิดจากพยาธิฟิลาเรีย ได้แก่ Wuchereria bancroti, Brugia malayi, B. timori โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค โรคเท้าช้างเป็นโรคอันดับสองที่ทำให้เกิดความพิการ ซึ่งก่อปัญหาทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจของประเทศในเขตร้อนและชิดเขตร ... -
การพัฒนาชุดตรวจหาการกลายพันธุ์ของยีนนิวคลีโอฟอสมินในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์เพื่อการรักษาอย่างแม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การกลายพันธุ์ (mutation) ของยีนนิวคลีโอฟอสมิน (nucleophosmin; NPM1) เป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกุลที่พบมากที่สุดในโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์ (acute myelogenous leukemia; AML) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีจำน ... -
การพัฒนาชุดวินิจฉัยโรคพิธิโอซีสในคนและในสัตว์ด้วยวิธีอิมมูโนโครมาโตกราฟฟี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-08-30)โรค pythiosis เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากจุลชีพ Pythium insidiosum การเกิดโรคพบในคนและสัตว์มีรายงานการติดเชื้อทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตสภาพอากาศร้อน กึ่งร้อน และอบอุ่น พบการติดเชื้อกระจายอยู่ทั่วโล ... -
การพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดสมอง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งด้านสาธารณสุขส่งผลกระทบอย่างมากต่อค่าใช้จ่ายสาธารณสุขรายปีและคุณภาพชีวิตของประชากรตลอดจนผลิตภาพของประเทศ อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพในการรักษาภาวะดังกล่าวยังคงจำกัดเนื่องจากผู้ป่วยจากโ ... -
การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ช่วยในการคัดกรองรอยโรคจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อคัดกรองวัณโรคปอด มะเร็งปอดและรอยโรคอื่นๆ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ภาพถ่ายดิจิทัลรังสีทรวงอก หรือ Digital chest x-ray image เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ วัณโรคปอดและมะเร็งปอด ในการตรวจสุขภาพประจำปีอีกด้วย ในแต่ละปีมีภาพถ่า ... -
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบชนิดอิมัลเจลจากควอลัมเซนซิงโมเลกุลชนิดทริปโตฟอลเพื่อการร่วมรักษาเชื้อราก่อโรคในกลุ่ม Scedosporium spp. และเชื้อราที่มีรายงานการดื้อยาต้านเชื้อรามาตรฐาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)ปัจจุบันเชื้อราก่อโรคในคนที่มีรายงานการดื้อยามีเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก ทั้งนี้เชื้อรากลุ่มดื้อยาต้านเชื้อรามาตรฐานโดยเฉพาะกลุ่ม Azole ที่พบบ่อย ได้แก่ เชื้อราในกลุ่ม Candida albicans และ Aspergillus fumigatus กลุ่มที่พบรายงา ... -
การพัฒนายาต้านไวรัสเดงกี่จากสารประกอบธรรมชาติและอนุพันธ์โดยใช้การปรับโครงสร้างสารตามแบบจำลองคอมพิวเตอร์และผลการยับยั้งไวรัสในเซลล์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)การติดเชื้อไวรัสเดงกี่เป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลก ซึ่งยังไม่มีการรักษาจำเพาะในปัจจุบัน การศึกษาก่อนหน้าพบว่าสารเคมีกลุ่มไครซินและฟลาวาโนนมีคุณสมบัติยับยั้งไวรัสเดงกี่ได้ จากการศึกษานี้พบว่าสารประกอบไครซินที่ผ่านการดัดแปรโ ... -
การพัฒนายาแอนติบอดีต้นแบบต่อ PD-1 เพื่อใช้ในการรักษาโรคมะเร็งแบบภูมิคุ้มกันบำบัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตหลักในประเทศไทย ซึ่งวิธีการรักษาหลักของโรคมะเร็งนอกจากการผ่าตัด การใช้ยาเคมีบำบัด การฉายแสง และการใช้ฮอร์โมนแล้ว ยังมีการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการรักษา ... -
การพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record : PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)โครงการพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์และพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพส่ว ... -
การพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง บทเรียนจากระบาดของโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการให้บริการแพทย์ทางไกล และระบบการจัดการยาสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง 2) พัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อประเมินสภาพผู้ป่วยล้าง ... -
การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิวิจัยวัณโรคและโรคเอดส์, 2563-12)ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกรายงานต่อเนื่องทุกปีว่าประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคมาก การตีตราวัณโรค (stigma) และความยากจน เป็นอุปสรรคต่อการยุติวัณโรคและมีความจำเป็นต้องร่วมมือกับหลายภาคส่วนเพื่อยุติวัณโรค ... -
การพัฒนาวิธีการใหม่สำหรับตรวจหาแอคติวิตี้ของเอนไซม์โปรตีเอส และอินทิเกรส ของเอชไอวี-1 เพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมระดับยา และการค้นหายาใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)โรคเอดส์ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญของประเทศไทย ปัจจุบันการรักษาโรคเอดส์จะใช้สูตรยาต้านไวรัสที่เรียกว่า highly active retroviral therapy หรือ HAART โดยสูตรยาดังกล่าวสามารถยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส และช่วยรักษาระดับของเซลล์ ... -
การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทางไกล เพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)บทนำ: การทำงานเภสัชกรรมปฐมภูมิในชุมชน เภสัชกรต้องทำงานร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพราะ อสม. คือ บุคคลที่ใกล้ชิดกับชุมชนมาก ผลกระทบของโรคโควิด-19 เกิดกับหลายประเทศทั่วโลกและในหลายด้าน รวมถึงระบบสาธารณสุ ... -
การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการคัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัยที่เหมาะสม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)โครงการวิจัย เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้คัดกรองการได้ยินในเด็กปฐมวัย ที่มุ่งเน้นให้สามารถคัดกรองได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ และมีราคาประหยัด โดยใช้เทคนิคการคัดกรองการได้ยินโดยการชี้ภาพที่สอดคล้องจากการฟังเสียงพูดภาษาไทย ... -
การพัฒนาเก้าอี้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ขึ้นลงพื้นต่างระดับอัตโนมัติสำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)รถเข็นเป็นอุปกรณ์ที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย สำหรับผู้ที่มีปัญหาในการเดิน การที่จะใช้รถเข็นได้นั้น ผู้ใช้งานจำเป็นต้องใช้กำลังจากมือในการควบคุมการเคลื่อนที่ของล้อซ้ายและขวา เพื่อบังคับการเคลื่อนที่หรือเลี้ยวของรถเข็น ... -
การพัฒนาเข็มฉีดยาตรวจคลื่นไฟฟ้าของกล้ามเนื้อที่ใช้สำหรับการรักษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง
(สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)โครงการวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนาเข็มฉีดยาตรวจคลื่นไฟฟ้าของกล้ามเนื้อขึ้นจากการเคลือบเข็มฉีดยาทั่วไป เพื่อเป็นทางเลือกทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศที่มีราคาแพง และเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการรักษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง การศึกษาข้อมู ... -
การพัฒนาเครื่องต้นแบบและซอฟแวร์เพื่อช่วยในการสื่อสารทางเลือกสำหรับผู้บกพร่องทางการพูดแบบไม่เป็นความ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)การพัฒนาเครื่องมือที่ช่วยในการสื่อสารเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากผู้ป่วยที่ไม่สามารถสื่อสารได้ เช่น ผู้ป่วยอัมพาต มีความบกพร่องในการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทำให้ไม่สามารถบอกความคิด ความรู้สึกหรือความต้องการของตนเองได้ ...