Browsing by Subject "ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)"
Now showing items 21-40 of 898
-
กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)รายงานผลการศึกษา เรื่อง กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ (ภาคใต้) เป็นผลการติดตามการเคลื่อนใหวของภาคประชาสังคมในฐานะที่เป็นทั้งผู้ที่จะได้รับประโยชน์ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความพยายามในการปฏิรูประบบสุข ... -
กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษากลไกสุขภาพภาคกลาง 2546
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยการศึกษากลไกสุขภาพภาคประชาชน กับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวทีสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นอันดับหนึ่งที่ทําให้เห็นภาพกระบวนการที่น่าจะเป็นการก่อกําเนิด ... -
กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในภาคเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยเรื่องนี้มุ่งทำความเข้าใจถึงวิธีคิด วิธีปฏิบัติ และวิธีให้คุณค่าเกี่ยวกับการกลไกการขับเคลื่อนเรื่องสุขภาพและผลกระทบของกลไกการปฏิรูประบบสุขภาพที่ผ่านมา และที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันโดยการศึกษาการรับรู้ ... -
กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ... -
กลไกและกระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : รายงานทบทวนความรู้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพให้เป็นเครื่องมือที่มีผลต่อการสร้างสุขภาพ เป็นเรื่องที่สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพให้ความสำคัญสูงเพราะมีหลักฐานและประสบการณ์จากทั่วโลก พบว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพทางบวกมากกว่าการลงทุนด้านบริการสุขภาพ ... -
กลไกและปัจจัยในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยภาคประชาชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)การศึกษานี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมตั้งแตปี ค.ศ.2002 - 2012 และการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้ใช้ยา ในชุมชนที่มีประสบการณ์การสร้างเสริมศักยภาพของประชาชนร่วมกับการสนทนากลุ่ม เพื่อทบทวนรูปแบบ กลไก ... -
การกระจายอำนาจจากส่วนกลางให้ท้องถิ่นและภูมิภาค ประเมินความก้าวหน้า อุปสรรคและนัยต่อสุขภาพของประชาชน
(คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2547)การกระจายอํานาจและถ่ายโอนภารกิจจากราชการส่วนกลางให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐให้เหมาะสมตามแนวทางลดบทบาทของราชการส่วนกลางในขณะเดียวกันต้องการเพิ่มบทบาทให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ ... -
การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นและการปฏิรูประบบราชการกับทิศทางการปรับปรุงระบบสุขภาพของสังคมไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)เอกสารประกอบการจัดทําพันธกิจและวิสัยทัศน์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) พ.ศ. 2548-2550 เกี่ยวกับการกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่นและการปฏิรูประบบราชการ กับทิศทางการปรับปรุงระบบสุขภาพของสังคมไทย โดยศึกษาใน 3 ประเด็นสำคัญ คือ ... -
การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ... -
การกำหนดต้นทุนและการจัดสรรในบริบทของวิธีการเหมาจ่ายบริการสุขภาพ
(สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุและประเมินวิธีการกำหนดต้นทุนบริการสุขภาพแบบเหมาจ่าย วิธีการจัดสรรงบประมาณ และการกำหนดตัวแปรที่มีผลต่อต้นทุนและการจัดสรรงบประมาณของต่างประเทศและของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ... -
การกำหนดยุทธศาสตร์การวิจัยด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)งานวิจัยถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างยิ่งในการที่จะช่วยแสวงหาหนทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในสภาวะการณ์ที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่ง สำหรับประเทศไทย มีข้อจำกัดในการส่งเสริมการวิจัยในด้านต่างๆ ทั้งปริมาณและงบประมาณ ... -
การขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษาการขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546 เป็นการบันทึกปรากฏการณ์ในการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในฐานะที่เป็นกลไกสำคัญในการเปลี่ยนแปลงบริบทของการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางกฎหมายและ ... -
การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะสุขเพื่อสุขภาพในภาคเกษตร : ประสบการณ์และบทเรียนการทำงานของเครือข่ายนโบายการเกษตรและชนบท
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)เนื้อหาในเอกสารสังเคราะห์เล่มนี้ประกอบด้วย 4 ส่วนหลักๆ คือ ส่วนแรกว่าด้วยเรื่องแนวคิดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและความสำคัญต่อการพัฒนาภาคการเกษตรไทย ส่วนที่สองเป็นการสังเคราะห์ประสบการณ์และสรุปบทเรียนการทำงานของนโยบายสาธาร ... -
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไทย พ.ศ. 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การคุ้มครองภูมิปัญญาไทย ด้านการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การคุ้มครองภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทย ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ ควรมุ่งเน้นเป้าหมายในเรื่องเครือข่ายเฝ้าระวังโจรสลัดชีวภาพ (Bio-piracy) และการจัดตั้งระบบฐานข้อมูลภูมิปัญญาไทย ... -
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไทพ.ศ.2550-2554 : ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนากำลังคนด้านการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2008-12-18)การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๐ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทางการบริหารในการกำหนดทิศทางการดำเนินการ เพื่อพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ... -
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ. 2550 – 2554 : ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนายาไทยและยาสมุนไพร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)รายงานการศึกษาเพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ.2550-2554 และเป็นยุทธศาสตร์สำคัญเพราะต้องเชื่อมโยงและขับเคลื่อน สำหรับ ยุทธศาสตร์ที่ 4 คือ การพัฒนายาไทยและยาสมุนไพร ทำศึกษาสถานการณ์ระบ ... -
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ. 2550 – 2554:ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างและการจัดการความรู้ ภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)ยุทธศาสตร์การสร้างและจัดการความรู้ เป็นยุทธศาสตร์ที่หนึ่งของแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ.2550-2554 และเป็นยุทธศาสตร์สำคัญเพราะต้องเชื่อมโยงและขับเคลื่อนอีก 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ การพัฒนาระบบสุขภาพ ... -
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ.2550-2554 : ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบสุขภาพ การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)แม้ว่าคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบต่อแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ. 2550-2554 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2550 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทางการบริหารในการกำหนดทิศทางการดำเนินการเพื่อพัฒน ... -
การขับเคลื่อนโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลทั่วไทย ใช้ยาคุ้มค่า ปลอดภัย ไม่ซ้ำซ้อน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นความจำเป็นเร่งด่วนของประเทศที่ต้องดำเนินการ เนื่องจากส่งผลต่อการรักษาผู้ป่วยในด้านประสิทธิผล คุ้มค่า ปลอดภัย และสามารถลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ และปัญหาเชื้อดื้อยา องค์การอนามัยโลกมีคำจำกัดความของ ... -
การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ...