Now showing items 21-40 of 88

    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย 

      อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย โดยมีรูปแบบการศึกษา 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มาและความสำคัญ: ประเทศไทยมีการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลมาอย่างต่อเนื่อง จากการมีนโยบายการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจหาและป้องกันการกระทำระหว่างกันของยาในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 

      เบญจมาศ จันทร์ฉวี; Benjamas Janchawee; วิบุล วงศ์ภูวรักษ์; ธวัช โอวาทฬารพร; ชัยเจริญ อำนวยพาณิชย์; มาหามัดดาโอะ วาแม; วีรวัฒน์ มหัทธนตระกูล; Wibul Wongpoowarak; Chaicharoen Amnuaypanit; Mahamaddaud Wamae; Tavat Ovatlarnporn; Virasakdi Chongsuvivatwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจหาและป้องกันการกระทำระหว่างกันของยาในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (ระยะที่ 1) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลและการคิดคำนวณสำหรับการตรวจหาการกระทำระหว่างกันของยาโดยเริ่มต้นจากโ ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์; Isareethaika Jayasvasti; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ทอง บุญยศ; Thong Boonyot; ประเสริฐ อาปัจชิง; Prasert Apadsing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ...
    • การพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรในการวิเคราะห์ข้อมูลการสั่งใช้ยาจากฐานข้อมูล OP 18 แฟ้มมาตรฐาน 

      โครงการพัฒนาสารสนเทศด้านยาของผู้ป่วยนอกรายบุคคลในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของเภสัชกรผู้ปฏิบัติงานในระบบยาของโรงพยาบาลในการวิเคราะห์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ OP 18 แฟ้ม เพื่อใช้ในการประเมินการเข้าถึงยาภายใต้ระบบประกันสุขภาพ และคุณภาพการสั่งใช้ยา 2. เพื่อพัฒนา ...
    • การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทางไกล เพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; เสาวลักษณ์ ตั้งตระกูล; Saowalak Tangtrakul; เดชาชัช สายเมธางกุร; Dechachuch Saimetanggun; ศิวพร ประเสริฐสุข; Siwapond Prasertsuk; มีนา บุญพรหมมา; Meena Bunpromma; เนตรชนก นารอง; Natchanok Narong; หนึ่งฤทัย สุกใส; Nungruthai Sooksai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      บทนำ: การทำงานเภสัชกรรมปฐมภูมิในชุมชน เภสัชกรต้องทำงานร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพราะ อสม. คือ บุคคลที่ใกล้ชิดกับชุมชนมาก ผลกระทบของโรคโควิด-19 เกิดกับหลายประเทศทั่วโลกและในหลายด้าน รวมถึงระบบสาธารณสุ ...
    • การพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การวิจัยนี้เป็นการประเมินระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy, RDUL) แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDUL ...
    • การวิจัยเพื่อพัฒนาการนำเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาไปสู่การปฏิบัติในโรงพยาบาลของรัฐ 

      สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค; Suntharee T. Chaisumritchoke; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; ศิราณี ยงประเดิม; Siranee Yongpraderm; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับกันอย่างชัดเจนทั่วโลกแล้วว่าการส่งเสริมการขายยามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการสั่งจ่ายยาที่ไม่สมเหตุผล ส่งผลทำให้เกิดปัญหาการบริโภคยาเกินจำเป็น บริโภคยาราคาแพงเกินควรทั้งในประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาแล้ว ...
    • การวิจัยและพัฒนาสารสนเทศระบบยาเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ยา ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ภูรี อนันตโชติ; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ศนิตา หิรัญรัศมี; ทวีพงษ์ อารียโสภณ; สุธีรา เตชคุณวุฒิ; ชุมพูนุช สุคนธวารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การใช้ยาอย่างเหมาะสมมีความสำคัญต่อผลลัพธ์ของการบริบาลผู้ป่วย และของการดำเนินงานระบบสุขภาพ การใช้ยาเกินจำเป็นและใช้ต่ำกว่าที่จำเป็น มีผลต่อคุณภาพการรักษา ในขณะเดียวกัน การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ย่อมมีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายสุขภาพด้วย ...
    • การวิจัยและพัฒนาแบบวัดความร่วมมือในการใช้ยาหลายมิติสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภายใต้บริบทประเทศไทย 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      วัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบประเมินการวัดความร่วมมือต่อยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังฉบับเบื้องต้น (20-item medication adherence questionnaire; MAQ-20) รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพเชิงจิตวิทยาของแบบประเมิน ในด้านความตรงเชิ ...
    • การวิเคราะห์งบการเงินของธุรกิจยา 

      ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; Duangtip Hongsamoot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การวิเคราะห์งบการเงินของธุรกิจยา การวิเคราะห์ทางการเงิน ( Financial analysis ) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อดูผลประกอบการของนิติบุคคลจากงบดุลและงบกำไรขาดทุน การศึกษานี้ได้ใช้ข้อมูลงบดุลและงบกำไรขาดทุนที่กฎหมายกำ ...
    • การศึกษาขนาดและผลกระทบทางการคลังของการครอบครองยาเกินจำเป็นและการแก้ปัญหาเชิงนโยบาย 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      ปัญหาค่าใช้จ่ายด้านยาที่สูงขึ้นเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอันหนึ่งของประเทศไทย การครอบครองยาเกินจำเป็นเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านยาสูงขึ้นโดยไม่จำเป็น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษานี้ขึ้นเพื่อ ...
    • การศึกษาประสิทธิผลรักษาและความปลอดภัยของยายับยั้งการหลั่งกรดกลุ่ม Proton Pump Inhibitors 

      ฐิติมา ด้วงเงิน; สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-12)
      ปัจจุบันยากลุ่ม Proton pump inhibitors (PPIs) ที่ได้รับการจัดให้อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ฉบับปี พ.ศ. 2555 ได้แก่ ยา omeprazole รูปแบบรับประทาน ซึ่งได้รับการจัดให้อยู่บัญชีประเภท ก. ส่วนยาฉีด omeprazole และยาฉีด pantoprazole ...
    • การศึกษาผลกระทบของการผูกขาดทางการตลาดของยาใหม่ภายใต้โครงการติดตามความปลอดภัย 

      Sripen Tantivess; Sukunya Jierapong; Anchalee Jitraknatee; Suwimol Chakajnarodom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      The effects of the New Drug Registration Regulations on generic availability in Thailand การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาผลกระทบที่มีต่อการมียาสามัญ (ยาเลียนแบบ) ของตำรับยาที่ถูกจัดว่าเป็นยาใหม่ ซึ่งเป็นผลจากมาตรการด ...
    • การศึกษาผลกระทบจากมาตรการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาในประเทศไทยระหว่างปี 2549-2551 

      อินทิรา ยมาภัย; อดุลย์ โมฮารา; วันดี กริชอนันต์; คัคนางค์ ไชยศิริ; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2552-07)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบจากมาตรการใช้สิทธิตามสิทธิบัตรของยา 7 รายการ ซึ่งเป็นที่กังขาในสังคม แม้ว่ามาตรการนี้สอดคล้องตามประกาศปฏิญญาโดฮา ในข้อตกลงด้านการค้าว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาและสาธารณสุข ปี พ.ศ. ...
    • การศึกษาระบบ-ระเบียบการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลรัฐบาล ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ศนิตา หิรัญรัศมี; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ภูรี อนันตโชติ; ชมภูนุช สุคนธวารี; สุธีรา เตชคุณวุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การจัดซื้อยาเป็นไปตามระเบียบจัดซื้อพัสดุซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นแนวทางสำหรับให้การจัดซื้อจัดหายาของโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ได้ยาที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม ทันเวลา และโปร่งใส ตรวจสอบได้ ...
    • การศึกษาระบบบริการสุขภาพด้านการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับปฏิบัติการในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ 

      อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Yuwayong Juntarawijit; ณิชกานต์ ทรงไทย; Nichakarn Songthai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญต่อการควบคุมการดำเนินโรคของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การส่งเสริมความร่วมมือในระดับปฏิบัติการเป็นกลไกสำคัญของการรักษาและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วย การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผส ...
    • การศึกษารูปแบบระบบบริหารจัดการยาระดับประเทศและประเมินความเป็นไปได้ในการจัดให้มีรูปแบบใหม่ของระบบในประเทศไทย 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01-10)
      การจัดการในภาพรวมเพื่อให้เกิดเสถียรภาพและความมั่นคงของการมีเภสัชภัณฑ์ใช้ในประเทศ ภายในขอบเขตของงบประมาณที่ได้รับนั้น มีความสำคัญต่อการเข้าถึงเภสัชภัณฑ์จำเป็นอย่างเท่าเทียม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบระบ ...
    • การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วริษฐา หวังบรรจงกุล; Waritta Wangbanjongkun; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)
      การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ...
    • การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสาธารณสุขภาพ 

      คทา บัณฑิตานุกูล; Katha Bunditanukul; เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; สุนทรี วัชรดำรงกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดของประชาคมเภสัชกรเครือข่ายหลักและสังเคราะห์เป็นวิสัยทัศน์ของระบบสุขภาพแห่งชาติที่ต้องการเพื่อสังเคราะห์ให้เห็นบทบาทของเภสัชกรในมิติใหม่ ...