Now showing items 21-34 of 34

    • การออกแบบระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลในยุคปกติวิถีใหม่ของโรงพยาบาลและร้านยาในเขตสุขภาพที่ 7 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล; Sineenard Mungmanitmongkol; ศิวพร ประเสริฐสุข; Siwapond Prasertsuk; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; ศิริน เพ็ญภินันท์; Sirin Phenphinan; สุภิญญา ตันตาปกุล; Supinya Tuntapakul; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piengkwan Srimongkol; เผ่าพงศ์ เหลืองรัตนา; Paopong Loungrattana; วัชระ ตันศิริ; Watchara Tansiri; ทรัพย์พานิช พลาบัญช์; Suppanich Palabun; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong; นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura; วีรวรรณ รุจิจนากุล; Weerawan Rujijanakul; แฉล้ม รัตนพันธุ์; Chalaem Rattanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การบริการเภสัชกรรมทางไกล (telepharmacy) เป็นอีกหนึ่งระบบบริการที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพภายใต้สถานการณ์ที่มีโรคระบาดโควิด-19 อีกทั้งยังสามารถสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านสาธารณสุขและเกิดเป็นรูปแบบการบริการท ...
    • การเปลี่ยนแปลงของอัตราการใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่นอกบ้านในช่วงโควิด-19: การวิเคราะห์จากภาพกล้องวงจรปิดโดยปัญญาประดิษฐ์ 

      ทยา กิติยากร; Taya Kitiyakara; สุภารี บุญมานันท์; Suparee Boonmanunt; รัตน์ชัยนันท์ ธรรมสุจริต; Ratchainant Thammasudjarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ภูมิหลัง: โควิด-19 ได้คร่าชีวิตมนุษย์จำนวนมากและได้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก การใส่หน้ากากเป็นวิธีป้องกันการแพร่ระบาดที่ได้รับการยอมรับทางการแพทย์ แต่อัตราการใส่หน้ากากในแต่ละประเทศกลับไม่เหมือนกัน เนื่องด้วยวัฒนธรรม ...
    • การเพิ่มความรับผิดชอบและประสิทธิภาพของระบบการกำกับการกินยารักษาวัณโรคโดยใช้แอปพลิเคชั่นมือถือ 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; พลกฤต ขำวิชา; Ponlagrit Kumwichar (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การติดตามการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคด้วยการมีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาต่อหน้า (Directly Observed Therapy, DOT) ไม่สามารถติดตามการกินยาของผู้ป่วยได้อย่างยั่งยืน เนื่องจากไม่มีระบบจัดการที่เหมาะสม รวมทั้งไม่มีระบบกำกับภาระหน้าที่ ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบสุขภาพในทิศทางดิจิทัลสุขภาพ 

      จักร เจริญศิลป์ชัย; Chak Charoensilpchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) เพื่อการขับเคลื่อนการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับส่วนกลาง และเขตพื้นที่ ภายใต้โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนามาตรการและนโยบายโรคไม่ติดต่อ ปี พ.ศ. 2563 (Fellowship Program on NCDs ...
    • ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแบบไร้รอยต่อและครอบคลุมด้วยระบบสุขภาพระยะไกล 

      ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย; Sirirat Anutrakulchai; สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; อัมพรพรรณ ธีรานุตร; Ampornpan Theeranut; อุบล ชาอ่อน; Ubon Cha’on; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; Bandit Thinkhamrop; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ชลธิป พงศ์สกุล; Chonlatip Pongsakul; ณิชานันทน์ ปัญญาเอก; Nichanun Panyaek; เอกลักษณ์ ลักขณาลิขิตกุล; Eakalak Lukkanalikitkul; ธีรวัฒน์ มธุรส; Teerawat Mathuros; พัทธนันท์ คงทอง; Phatthanunt Khongthong; ณฐาภพ ชัยชญา; Nathaphop Chaichaya; ธิดารัตน์ มงคลสุคนธรัก; Thidarut Mongkolsukontharuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการป้องกันและชะลอโรคไตเรื้อรังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ดำเนินการสร้างรูปแบบ (โมเดล) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดปัญหาสุขภาพในชุมชน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่าสิ่งที่มีผลต่อการดูแลรักษาที่ดี คือ การได้รับการดูแลแบบเ ...
    • ปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม 

      ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวคิดและกรอบการวิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม และเพื่อเสนอวาระวิจัยที่จะตอบสนองการวิจัยในระยะยาวเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว งานวิจัยนี้เก็บข ...
    • ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด 19 ต่อการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตและรูปแบบการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดที่ตอบสนองต่อยุคชีวิตวิถีใหม่ 

      มะลิวัลย์ เรือนคำ; Maliwan Rueankam; พรเพ็ญ ศิริสัตยะวงศ์; Pornpen Sirisatayawong; ศุภลักษณ์ เข็มทอง; Supalak Khemthong; วัฒนารี อัมมวรรธน์; Watthanaree Ammawat; พรทิพย์พา ธิมายอม; Pornthippa Thimayom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-29)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ต่อการทำกิจกรรมการดำเนิน ...
    • ยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกเอกชนในการคัดกรองและส่งต่อผู้มีอาการวัณโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ดิเรก สุดแดน; Derek Sutdan; คณัสนันท์ ศรีวรรณรมย์; Kanassanan Sriwanarom; ณัฐประคัลภ์ หอมนวล; Natprakan Homnual; ทรามวัย หลวงจินา; Sarmwai Luangjina; นภัชณันท์ บุญจู; Naphatchanan Boonju; เบญจวรรณ บุญส่ง; Benjawan Boonshong; บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์; Boonchai Chaiyasirinroje; ภัสสรา ซาลิซส์; Phassara Salis; ศราวุธ มณีวงค์; Sarawut Maneewong; สิริวิมล มณี; Siriwimon Manee; สุรีรัตน์ ท้าวถึง; Sureerut Thawthung; เอกชัย คนกลาง; Ekkachai Konklang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ : จากผลการศึกษาในการดำเนินงานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2562-2563 พบว่า ...
    • รูปแบบการเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อป้องกันการระบาดใหม่ของโรคโควิค-19 ในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันตกของประเทศไทย 

      ภารณี นิลกรณ์; Paranee Ninkron; ชิราวุธ ปุญณวิช; Chirawut Punnawit; ชาญวุฒิ สว่างศรี; Chanwut Sawangsri; วาริศา เพชรธีรานนท์; Warisa Petchthiranon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อป้องกันการระบาดใหม่ของโรคโควิด-19 ในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันตกของประเทศไทย โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีการผสมผสานวิธีวิจัยทั้ง ...
    • แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือบำบัดทางจิตวิทยาด้วยปัญญาประดิษฐ์ 

      กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี; Konlakorn Wongpatikaseree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ปัญหาสุขภาพจิตส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและคนใกล้ตัว แม้การดูแลสุขภาพจิตจะมีความสำคัญแต่ก็มีข้อจำกัด เช่น ค่าใช้จ่ายสูง และจำนวนบุคลากรด้านสุขภาพจิตไม่เพียงพอ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพั ...
    • แพลตฟอร์มออนไลน์บนมือถือและปัญญาประดิษฐ์แบบเรียนรู้เชิงลึกสำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปาก 

      วสิศ ลิ้มประเสริฐ; Wasit Limprasert; กฤษสิทธิ์ วารินทร์; Kritsasith Warin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การวิจัยในโครงการแพลตฟอร์มออนไลน์บนมือถือและปัญญาประดิษฐ์แบบเรียนรู้เชิงลึกสำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปากครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาแพลตฟอร์มออนไลน์สำหรับการเก็บข้อมูลรูปภาพทางคลินิกของรอยโรคที่อาจเปลี่ย ...
    • แพลตฟอร์มแอปพลิเคชันคุณลูกสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ 

      กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายของเด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์พัฒนาการของเด็กไทยวัย 0-5 ปี ยังพบว่า ปัญหาพัฒนาการล่าช้ายังเป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งหากเด็กและวัยรุ่นได้รับการเลี้ยงดูและสร้างเ ...
    • โครงการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการค้นหาวัณโรคเชิงรุก 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; ศีลวันต์ สถิตย์รัตนชีวิน; Seelwan Sathitratanacheewin; พนาสันต์ สุนันต๊ะ; Panasun Sunanta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญระดับโลกนอกจากก่อให้เกิดความสูญเสียทางสุขภาพจากการป่วยและเสียชีวิต ยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ผลกระทบเกิดทั้งต่อผู้ป่วย ครอบครัวและคนใกล้ชิด รวมถึงสังคมสูญเสียผลิตภาพและศักยภาพของประชากร ...
    • โทรจิต การพัฒนาชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาทางไกลอิงเสียงพูดและภาษาแบบอัตโนมัติ ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องสำหรับจำแนกผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยในชุมชนภาคตะวันออก 

      พีร วงศ์อุปราช; Peera Wongupparaj; ภัทราวดี มากมี; Pattrawadee Makmee; พรชัย จูลเมตต์; Pornchai Jullamate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07-31)
      การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุและระบบสาธารณสุขปัจจุบันทำให้ประชาชนโดยทั่วไปอายุยืนยาวขึ้น เช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย แต่แนวทางที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน คือ การคัดกรองตั้งแต่อยู่ในช ...