• รื้อสร้างองค์ความคิดผู้หญิงกับสุขภาพเล่ม 2 

      พิมพวัลย์ บุญมงคล; กฤตยา อาชวนิจกุล; เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; จินตนา ยูนิพันธุ์; มัลลิกา มัติโก; นภาภรณ์ หะวานนท์; สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค; นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; สุวิภา บุณยะโหตระ; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ศิริพร จิรวัฒน์กุล; นาถฤดี เด่นดวง; กนกวรรณ ธราวรรณ; อรพรรณ เมธาดิลกกุล; ศิริอร สินธุ; เอื้อมพร ทองกระจาย; โชติมา กาญจนกุล; มัทนา เชตมี (ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541)
    • วิถีชีวิตและวิถีสุขภาพของคนงานก่อสร้างในภาคเหนือ 

      อัญชลี สิงหเนตร-ฤนาท; Anchalee Singhanatr-runat; ณัฐยา ศักดิ์สูง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      วิถีชีวิตและวิถีสุขภาพของคนงานก่อสร้างในภาคเหนือการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาบริบทและกลไกที่เป็นตัว กำหนดวิถีชีวิตและวิถีสุขภาพของคนงานก่อสร้าง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง1.ลักษณะของงานก่อสร้างและแ ...
    • วิทยาศาสตร์ภายใต้วิธีคิดแบบลดส่วนกับความรุนแรงต่อสุขภาพ 

      ยงศักดิ์ ตันติปิฎก; Yongsak Thantiphidok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านที่สำคัญ สังคมไทยซึ่งอยู่ในระหว่างการปฏิรูปในหลายๆ ด้าน รวมไปถึงการปฏิรูประบบการศึกษาและระบบสุขภาพด้วยนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหันกลับมาสำรวจทบทวนสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระห ...
    • สถานการณ์และประเด็นสุขภาพแรงงานอีสาน 

      ดุษฎี อายุวัฒน์; Dusadee Ayuwat; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภูมิภาคที่มีการย้ายถิ่นแรงงานมาก จึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ สังคม ตลอดจนมีผลกระทบต่อสุขภาวะทั้งปัจเจกบุคคล ครัวเรือน และชุมชน บทความนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอสถานการณ์ ...
    • สถานการณ์และเงื่อนไขการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในท้องถิ่น : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 

      ปรีชา อุปโยคิน; Phrecha Uphaypkin; อภิสม อินทรลาวัณย์; ธันวา เอี่ยมงาม; Aphisom Intaralawan; Thanwa Iamngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      สถานการณ์และเงื่อนไขการกระจายอํานาจด้านสุขภาพในท้องถิ่น : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ที่มีการดําเนินงานของคณะกรรมการสุขภาพระดับพื้นที่ (กสพ.) ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ต้องการทราบถึงผลการดําเนินงานด้านกระจายอํานาจด้านสุขภาพ ...
    • สังคมภาคเหนือในยุคทักษิโณมิกส์และการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ 

      ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี; Pinkaew Lueangaramsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคชนบทที่เกิดขึ้นในรัฐบาลยุคของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ที่ได้ทุ่มเทเงินภาครัฐทั้งในและนอกงบประมาณแผ่นดินในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาแบบทวิวิถี (dual ...
    • สิทธิมนุษยชนกับสุขภาพ : บทสำรวจเบื้องต้นเพื่อทบทวนและท้าทายองค์ความรู้ 

      สุรสม กฤษณะจูฑะ; Surasom Krisanajuta; สันติพงษ์ ช้างเผือก; ธวัช มณีผ่อง; อุ่นใจ เจียมบูรณะกุล; รัชนี นิลจันทร์; Santipong Changphueak; Tawan Maneephong; Unchai Chaimburanakul; Ratchanee Ninchan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      งานวิจัยชิ้นนี้ มุ่งศึกษาทบทวนแนวความคิดว่าด้วย “สิทธิมนุษยชน” และ “สุขภาพ” เพื่อนำมาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผสมผสาน และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสองแนวคิดข้างต้น โดยใช้กรอบคิดเรื่อง “การนิยามความหมายทางสังคม” ...
    • สุขภาพกับความสูญเสีย : ลำดับเหตุและปัจจัยทำร้ายคนไทย 

      จิตร สิทธีอมร; Chirt Sitthi-Amorn; วัฒนา ส.จั่นเจริญ; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 

      จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์; สุนทร เหรียญภูมิการกิจ; ชาติวุฒิ จำจด; นัยนา พันโกฏิ; Chanthip Intawong; Sunthorn Rheanpumikankit; Chattiwut Chamchod; Naiyana Phankote (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพ ระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง 943 คน ที่อาศัยอยู่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแ ...
    • สู่ศตวรรษใหม่ของการส่งเสริมสุขภาพ 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; สุชาดา ตั้งทางธรรม; Lukana Termsirikulchai (โครงการสำนักพิมพ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • เศรษฐศาสตร์การคลังเพื่อสุขภาพ 

      สุชาดา ตั้งทางธรรม; Suchada Tangtangtham (สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2541)
      เศรษฐศาสตร์การคลังเพื่อสุขภาพกระทรวงสาธารณสุขได้รับจัดสรรงบประมาณในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1-3 เฉลี่ยประมาณร้อยละ 3-3.5 ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศซึ่งค่อนข้างน้อยจนกระทั่งช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 กระทรวงสาธารณสุขได ...