• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Universal Health Coverage"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 21-40 จาก 141

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลอุดรธานี : รายงานการวิจัย 

      จันทนา พัฒนเภสัช; อาทร ริ้วไพบูลย์; วัชรา ริ้วไพบูลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยทำการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนบริการทางการแพทย์โดยใช้วิธีมาตรฐาน ...
    • การจัดการความรู้ : ปัญญาที่ต้องสร้า้งภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้้า 

      วิจารณ์ พานิช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
    • การจัดทำหลักเกณฑ์ราคาเบิกจ่ายยา: กรณีส่งต่อผู้ป่วยนอก/พิการ/อุบัติเหตุและฉุกเฉินของ สปสช. เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิริพา อุดมอักษร; Siripa Udomaksorn; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง; Paithip Luangruangrong; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำหลักเกณฑ์การกำหนดราคาเบิกจ่ายค่ายาผู้ป่วยนอกให้แก่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เฉพาะกรณีส่งต่อ อุบัติเหตุ ฉุกเฉินและผู้พิการ การวิจัยนี้ใช้แนวคิดสำคัญ 3 ...
    • การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      กุลยา รัตนปรีดากุล; Kulaya Rattanapreedakul; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์; วิชัย วิวัฒน์คุณูปการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ...
    • การจัดระบบชดเชยค่าบริการการแพทย์ กรณีสิทธิประโยชน์การป้องกันและรักษาโรคเอชไอวี/เอดส์ สำหรับประชากรต่างด้าวในประเทศไทย 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaphron; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05-31)
      การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนที่อาศัยบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการจัดระบบหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย เพื่อเข้าถึงบริการสุขภาพ ทั้งนี้ ...
    • การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนไทยที่อยู่บนแผ่นดินไทย 

      วีระ หวังสัจจะโชค; Weera Wongsatjachock; นพพล ผลอำนวย; Noppon Phon-amnuai; รัตนสิทธิ์ ทิพย์วงศ์; Rustanasit Tipwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      รายงานวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาอยู่สามประการหลัก ประการแรก เพื่อทบทวนประสบการณ์การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนที่อยู่บนแผ่นดิน ประการที่สอง สำรวจการจัดระบบหลักประกันสุ ...
    • การจัดและการใช้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กอายุ 0-5 ปี ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ศรีมนา นิยมค้า; Srimana Niyomkar; อมรรัตน์ งามสวย; Amornrat Ngamsuoy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เด็กอายุ 0-5 ปี เป็นเด็กที่มีพัฒนาการและการเจริญเติบโตรวดเร็ว และมีปัญหาความเสี่ยงด้านสุขภาพและด้านพัฒนาการต่างๆ การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในเด็กกลุ่มนี้จึงเป็นเป้าหมายสำคัญในการดูแลเด็ก งานวิจัยเชิงพรรณานาน ...
    • การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Walaiporn Patcharanarumol; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ...
    • การดำเนินงานระดับนโยบาย 

      อำพล จินดาวัฒนะ; สุรณี พิพัฒน์โรจนกมล; วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เอกสารและบทวิเคราะห์สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวเนื่องกับระบบหลักประกันสุขภาพเล่มนี้ เป็นบทสังเคราะห์ทางวิชาการที่จะนำเข้าสู่การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับนักวิชาการที่หลากหลายในการประชุมวิชาการ พลังปัญญา : สู่การพัฒน ...
    • การตรวจสอบคุณภาพการให้รหัสโรคสำหรับการจ่ายชดเชยค่าบริการผู้ป่วยในของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • การติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีที่หนึ่ง (2544-45) 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ศรชัย เตรียมวรกุล; นิภา ศรีอนันต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานนี้สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะจากโครงการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปีที่หนึ่ง (2544-45) ซึ่งประกอบด้วยการศึกษาในสี่ด้าน คือ สวัสดิการข้าราชการและครอบครัว โครงการประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน ...
    • การทบทวนความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2544 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการดำเนินการ ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เสนอไว้โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในรายงานการศึกษา ตลอดจนค้นหาข้อมูลป้อ ...
    • การบริหารจัดการสถานบริการสุขภาพภาครัฐ 

      จักริน สมบูรณ์จันทร์; Jukrin Somboonjun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • การปฏิรูปด้านการคลังสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพจากแนวคิดสู่การขับเคลื่อน 

      ภิรมย์ กมลรัตนกุล; Prirom kamolratanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • การปฏิรูประบบบริการสุขภาพแบบครบวงจรเพื่อสร้างบริการแบบเน้นคุณค่า 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • การประชุมระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2566 ทบทวนอดีตและแถลงการณ์สู่อนาคต 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การประชุมระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2566 ทบทวนอดีตและแถลงการณ์สู่อนาคต เนื้อหาประกอบด้วย 1) กิจกรรมของการประชุมฯ และผู้เข้าร่วมการประชุมฯ 2) ผลลัพธ์ที่สำคัญของการประชุมฯ ...
    • การประเมินการคัดกรองความดันโลหิตสูงโดยใช้แนวคิดการวัดความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล 

      กุลพิมน เจริญดี; Kulpimol Charoendee (2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; ประเวชย์ มหาวิฑิตวงศ์; Prawej Mahawithitwong; ประวัฒน์ โฆสิตะมงคล; Prawat Kositamongkol; สัญหวิชญ์ จันทร์รังสี; Sanhawit Janrungsee; บัณฑูร นนทสูติ; Bunthoon Nonthasoot; กรกช เกษประเสริฐ; Goragoch Gesprasert; กิตติพงศ์ ชัยบุตร; Kittipong Chaiyabutr; ธราธิป ศรีสุข; Tharatip Srisuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอชุดสิทธิประโยชน์สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย โดยรูปแบบของการศึกษาประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากผู้ป่วยโรคตับแ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV