Now showing items 41-60 of 62

    • ทำอะไร อย่างไร ในการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกครั้งที่ 58 

      วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      องค์การอนามัยโลกจัดให้มีการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกขึ้นทุกๆปี ละ 1 ครั้ง ผลลัพธ์ของการประชุมคือ การจัดทำข้อตกลงด้านสุขภาพอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกประจำปี พ.ศ. 2548 เป็นการประชุมครั้งที่ 58 ...
    • ทิศทางการพัฒนาระบบยาที่สอดคล้องกับระบบการแพทย์และสาธารณสุขและการพัฒนาประเทศ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • บทเรียนจากการประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลประจำปี พ.ศ. 2564 ผ่านมุมมองของทีมผู้จดบันทึกรายงานการประชุม 

      ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การประชุมวิชาการรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล (Prince Mahidol Award Conference: PMAC) เป็นการประชุมวิชาการนานาชาติประจำปีที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับจากทั่วโลกในฐานะเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนโยบายด้านสุขภา ...
    • ประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เราเชื่อและเรามุ่งมั่น 

      Walaiporn Patcharanarumol; Tippawan Witworrasakul; Cattleeya Kongsupapsiri; Churnrurtai Kanchanachitra; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; ทิพวรรณ วิทย์วรสกุล; แคลียา คงสุภาพศิริ; ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พ.ศ. 2555 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 มกราคม 2555 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร ภายใต้หัวข้อ “ก้าวสู่ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า เร่งพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ” หรือ ...
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • ผู้ป่วยด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู่มากน้อยแค่ไหน: รายงานจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์; Amonrat Manawatthanawong; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases: NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญและเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพโดยเฉพาะการสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และการมีกิจกรร ...
    • พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จงกล เลิศเธียรดำรง; วลัยพร พัชรนฤมล; Jongkol Lertiendumrong; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัย ที่มุ่งกำไร เป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด แทนที่จะเป็นภาครัฐ พ.ร.บ.นี้ ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาล ...
    • ภาระงานของบุคลากรและประสิทธิภาพการใช้เตียงโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัด ปี 2543 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานรักษาของบุคลาการ 3 สายงานได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ งบประมาณ 2543 ของโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัดทุกแห่งในประเทศไทยทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม – มิถุนายน ...
    • รายงานผลการสำรวจภายหลังการแจงนับการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2545 

      จิตปราณี วาศวิท; Chipanee Wasawit; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อาทิตยา เทียมไพรวัลย์; Walaiporn Phacharanarumol; Khanchana Tisayaatikhom; Wiroj Tangcharoesathien; Atitaya Thiemphaiwan (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบว่า วิธีการจัดเก็บข้อมูลจากครัวเรือน โดยการสัมภาษณ์จากสมาชิกคนใดคนหนึ่งของครัวเรือน เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของสมาชิกทุกคนในครัวเรือน (Proxy respondent) จะมีความแตกต่างจากการ ...
    • ลักษณะทางประชากรและสังคมของบุคคลที่เสี่ยงต่อวงจรอุบาทว์ “โง่-จน-เจ็บ”: ข้อค้นพบจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      จิรพันธุ์ จรัสภัทรโรจน์; Jiraphan Jaratpatthararoj; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; กาญจนา ศิริโกมล; Kanjana Sirigomon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      เป้าประสงค์หลักของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือการทำให้ประชาชนมีสิทธิในการใช้บริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคด้านการเงิน เป็นการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นสำหรับคนทุกคน และลดภาระรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน ...
    • วิธีวิเคราะห์ต้นทุนบริการของสถานพยาบาลแบบมาตรฐานและแบบลัด 

      กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      รายงานฉบับนี้เสนอวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาล 2 แบบได้แก่ แบบมาตรฐานและแบบลัดโดยวิธีมาตรฐานนั้น จะได้ประโยชน์สำหรับผู้บริหารสถานพยาบาล ในการกำกับต้นทุนของคน และปรับประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรส่วนวิธีการลัดนั้นมีประโ ...
    • วิวัฒนาการของความร่วมมือภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียวในประเทศไทย 

      อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; โสภณ เอี่ยมศิริถาวร; Sopon Iamsirithaworn; วันทนีย์ กัลล์ประวิทธ์; Wantanee Kalpravidh; ปานเทพ รัตนากร; Parntep Ratanakorn; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)
      แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health) เป็นแนวคิดที่มีเป้าหมายสำคัญในการเสริมสร้างการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างสหสาขาวิชาของทุกภาคส่วนและทุกระดับเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม โดยตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพคน ...
    • สถานการณ์การเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลและการมีผู้ดูแลในขณะพักฟื้นของผู้สูงอายุในประเทศไทย 

      คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Ieawsuwan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachodpanich; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      สัดส่วนผู้สูงอายุในประเทศไทยเท่ากับร้อยละ 16 ของประชากรทั้งหมดในประเทศ เฉพาะผู้สูงอายุที่ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลนั้น เมื่อจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ส่วนใหญ่ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวัน การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เ ...
    • สถานการณ์การใช้ยาต้านจุลชีพและความรู้เรื่องยาต้านจุลชีพ: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อภิชาติ ธัญญาหาร; Apichart Thunyahan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ในปัจจุบัน ปัญหาการดื้อยาของเชื้อจุลชีพมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุสำคัญมาจากการใช้ยาต้านจุลชีพที่ไม่เหมาะสม ทั้งการใช้โดยไม่จำเป็นและมากเกินความจำเป็น รวมทั้งใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่ถูกต้อง ดังนั้น เพื่อเป็นการส ...
    • สถานพยาบาลต้องปรับตัวอย่างไรภายใต้นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า-กรณีศึกษาจังหวัดจันทบุรี 

      ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินด้านรายจ่ายและรายรับภายใต้ฉากทัศน์ต่างๆ ของการดำเนินการตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า และต้นทุนดำเนินการต่อหน่วยของสถานพยาบาลในจังหวัดจันทบุรีปีงบประมาณ 2543 ...
    • สังเคราะห์สถานการณ์ระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา; ทิพิชา โปษยานนท์; วลัยพร พัชรนฤมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552 เป็นธรรมนูญฯ ฉบับแรกของประเทศไทย ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่กำหนดในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ผ่านกระบวนการยกร่างที่มุ่งใช้องค์ความรู้ทางวิชาการทั้งจากการทบทวนสถา ...
    • อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย 

      จิตปราณี วาศวิท; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; นวรัตน์ โอปนพันธ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      ข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น ...
    • อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 2 เรื่อง รายจ่ายด้านของคนไทยก่อนและหลังมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; กุลลักษณ์ เลิศภัทรพงษ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพรวมสัมฤทธิ์ผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในด้านภาระรายจ่ายสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ โดยเปรียบเทียบในช่วงก่อนและหลังมีสิทธิประโยชน์นี้และผลที่มีต่อผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้ว ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวชุดสิทธิประโยชน์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2546 

      วลัยพร พัชรนฤมล; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การกำหนดอัตราเหมาจ่ายในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับปีงบประมาณ 2545 นั้น มีข้อจำกัด 3 ประการ เนื่องจาก ข้อมูลรายละเอียดของชุดสิทธิประโยชน์ ประชา่กรเป้าหมายของกิจกรรมเฉพาะและต้นทุนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคยังไม่ชัดเจน ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2548 การปรับวิธีประมาณการครั้งใหญ่ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณอัตราเหมาจ่ายปีงบประมาณ 2548 โดยใช้หลักการคำนวณเช่นเดียวกับปี 2545-2547 แต่ปรับห้วงเวลาของฐานข้อมูลอัตราการใช้บริการและต้นทุนให้เป็นปี 2548 ในการศึกษาอัตราการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก ...