Now showing items 41-60 of 157

    • การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการ ...
    • การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547 

      กัญจนา ติษยาธิคม; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การจัดทำอัตราเหมาจ่ายรายหัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้านหน้าครั้งแรกในปีงบประมาณ 2545 คิดเป็น 1,202 บาทต่อคนต่อปี โดยใช้ฐานข้อมูลสองชุดคือ อัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล การคำนวณครั้งที่สอง ในปีงบประมาณ ...
    • การศึกษาภาระงานและผลิตภาพกำลังคนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; Benjaporn Rajataram; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; Kamolnut Muangyim; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; วิริยา โพธิ์ขวาง-ยุสท์; Wiriya Phokhwang-Just; ศุทธินี วัฒนกูล; Suttini Wattanakul; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; ศรีจันทร์ พลับจั่น; Srijan Pupjain; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; เบญจพร รัชตารมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสมโดยทำการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาระงานและปัจจัยกำหนดผลิตภาพ 2) ศึกษาความสอดคล้องของภาระงานกับอัตรากำลังบุคลากรที่มี และ3) สังเคราะห์ข้อเสนอเช ...
    • การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วริษฐา หวังบรรจงกุล; Waritta Wangbanjongkun; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)
      การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ...
    • การสังเคราะห์มาตรการและนโยบายของรัฐบาลเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 จากผลการประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนไทยต่อมาตรการต่างๆ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumon; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ส่งผลให้รัฐบาลไทยประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม - 30 เมษายน พ.ศ. 2563 และรณรงค์มาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ...
    • การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2535 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุกัลยา คงสวัสดิ์; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; ศศิเพ็ญ โมไนยกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปีพศ.2535 การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ได้ใช้กรอบตัวอย่างโรงพยาบาลและสถานพยาบาลที่มีเตียงจำนวนทั้งสิ้น 320 แห่ง จากกองการประกอบโรคศิลปะในช่วงต้นปีงบประมาณ พศ. 2535 โดยทอดแบบสอบถาม ...
    • การสำรวจการเข้าถึงสถานพยาบาลและรายจ่ายด้านสุขภาพของผู้ป่วยที่เสียชีวิต พ.ศ. 2548-2549 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; อรศรี ฮินท่าไม้; อาทิตยา เทียมไพรวัลย์; Viroj Tangcharoensathien; Phusit Prakongsai; Chitpranee Vasavid; Onsri Hinthamai; Artitaya Tiampriwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การสำรวจครั้งนี้เป็นการศึกษาการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อัตราและแบบแผนการใช้บริการ และภาระค่าใช้จ่ายของครัวเรือนทั้งค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ของผู้เสียชีวิต โดยใช้แบบสอบถามเพิ่มเติมนอกเหนือจา ...
    • การสำรวจการเจ็บป่วยและการใช้บริการทางการแพทย์ของข้าราชการ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัว ในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ. 2538 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การสำรวจการเจ็บป่วยและการใช้บริการทางการแพทย์ของข้าราชการ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัวในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ. 2538 การสำรวจภาวะการเจ็บป่วยของข้าราชการ, ลูกจ้างประจำ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัวใ ...
    • การสำรวจราคายา 40 รายการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจัดซื้อในปี 2539 

      จงกล เลิศเธียรดำรง; Jongkol Lertiendumrong; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ชลลดา สิทธิฑูรย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การสำรวจราคายา 40 รายการโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจัดซื้อในปี 2539 การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นถ้ามีการ แก้ไข ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ 2535 ข้อ 61โดยการวิจัยนี ...
    • การสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประชาชนไทย พ.ศ.2546: กรณีการรับบริการทันตกรรม 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; นงลักษณ์ โงวิวัฒน์ชัย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือศึกษาการรับบริการ ความคุ้มครองสุขภาพในการรับบริการและค่าใช้จ่ายในการรับบริการด้านทันตกรรมของประชากรไทยจำแนกตามกลุ่มอายุ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล เขตที่อาศัยและลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนไทย ...
    • การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์ 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; Vijj Kasemsap; Yot teerawatananon; Thanom Supaporn; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การบริการทดแทนไต (renal replacement therapy-RRT) เป็นการรักษาพยาบาลที่มีความจำเป็นสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ต่อไปนี้เรียกว่าผู้ป่วยฯ) ซึ่งในปัจจุบัน มีความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการทดแทนไตระหว่างผู้ป่วยฯ ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังสามารถพบได้ทั่วไปในทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง เช่น นิ่วในไต เบาหวาน ความดันโลหิตสูง รักษาพยาบาล และค่าฟอกเลือด สามารถทำให้ครอบครัวนั้นล้มละลายทางด้านการเงินได้ ...
    • การเปลี่ยนแปลงภาวะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนจากการวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน(โดยใช้ตัวอย่างซ้ำ) 2548-2553 

      วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; กัญจนา ติษยาธิคม; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-02)
      การสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนโดยใช้ตัวอย่างซ้ำ เป็นการติดตาม สัมภาษณ์ครัวเรือนเดิมจำนวนประมาณ 6 พันตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 4 รอบ (พ.ศ. 2548, 2549, 2550 และ 2553) ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสามารถนำไปใช้วิเ ...
    • การแทนยาฉีดด้วยยารับประทานในผู้ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาล 

      รุ่งทิวา หมื่นปา; Rungtiwa Hmuenpha; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; พรรณพิศ สุวรรณกูล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chulaporn Limwattananon; Suphon Limwatananon; Phanpit Suwanakul; Viroj Thangcharoensathien; โรงพยาบาลลำปาง; Lampang Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      วัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพการส่งเสริมการแทนยาฉีดด้วยยารับประทาน ระหว่างวิธีที่ 1 การให้ข้อมูลการแทนยาแก่แพทย์ตามรายผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยา กับวิธีที่ 2 การให้ข้อมูลการแทนยาแก่แพทย์เป็นรายกลุ่ม พร้อมวัดความพึงพอใจของผ ...
    • การแปรสภาพโรงพยาบาลของรัฐให้เป็นเอกชน: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (2537)
      การจัดบริการสาธารณสุขของประเทศไทยจำเป็นต้องได้รับการทบทวนเพื่อปรับปรุงพัฒนา หรือปฏิรูปขนานใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้อีกต่อไป บทวิเคราะห์เชิงนโยบายนี้จะเป็นส่วนหนึ่งสำหรับการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถูกทิศทางสำหรับอนาคตต่อไป
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลของคนไทยที่ไม่มีหรือไม่ทราบสิทธิประกันสุขภาพ 

      ประสิทธิ บุญเกิด; Prasit Boonkerd; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้วิเคราะห์การใช้บริการรักษาพยาบาลโรคทั่วไปของคนไทยในกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ หรือไม่ทราบสิทธิ รวมถึงไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐฐานะ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 

      จุฑาทิพ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Aewsuwan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      แม้การบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จะช่วยให้คนไทยทั้งประเทศเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น แต่ประชากรกรุงเทพฯ ก็ยังคงมีปัญหาเข้าถึงการรักษาพยาบาลมากที่สุด เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพฯ ...
    • การใช้เครื่องสลายนิ่วในประเทศไทย ประสิทธิภาพและความเสมอภาค 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุกัลยา คงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; นวลอนันต์ ตันติเกตุ; งามจิตต์ จันทรสาธิต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข, 2536)
      The use of extra corporeal shock wave lithotripters in Thailand: efficiency and equityBased mainly on hospital statistics, this study aims to collect(a) financial data from Extra Corporeal Shock Wave Lithotripter (ESWL) ...