Now showing items 41-60 of 100

    • การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต่อค่าตอบแทนที่ได้รับ 

      ภัททา เกิดเรือง; สมชาย สุขสิริเสรีกุล (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      การคงอยู่ของกำลังแรงงานด้านสุขภาพ (health workforce) และการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ให้สมดุลระหว่างพื้นที่ (โดยเฉพาะระหว่างพื้นที่เมืองและพื้นที่ชนบท) เป็นปัญหาเรื้อรังที่ประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลกยังไม่สามารถแก้ไขได้ ...
    • การศึกษาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ณิชากร ศิริกนกวิไล; วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย; ประภัศสิณี โพธิ์สุวรรณ (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.),สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP), 2559-11)
      โครงการศึกษาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข เป็นการศึกษาที่ต้องการทราบค่าแรงจริงที่มีการจ่ายให้กับบุคคลากรด้านสุขภาพของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ...
    • การศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายในการกระจายแพทย์ไปยังหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ขาดแคลนหรือห่างไกลในชนบท 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang; พิมพ์เพชร สุขุมาลไพบูลย์; Pimpet Sukumalpaiboon; ชุติมา ศิริภานุมาศ; Chutima Siripanumas; ทิวาวรรณ ปิยกุลมาลา; Tiwawan Piyakulmala; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      เป็นเวลากว่า 5 ทศวรรษที่รัฐบาลดำเนินนโยบายเพิ่มการผลิตและการทำสัญญาบังคับชดใช้ทุนกับแพทย์ที่จบจากสถาบันของรัฐ แม้ว่าแพทย์ในประเทศไทยจะเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ขาดนโยบายควบคุมการเคลื่อนย้ายแพทย์ที่ได้ผล เป็นเหตุให้มี ...
    • การศึกษาทิศทางการผลิตกำลังคนสายสาธารณสุขภายใต้การผลิตของหน่วยงานสถาบันพระบรมราชชนก 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Ratchatarom; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ศุทธินี วัฒนกูล; สุรศักดิ์ สุนทร; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; รุ่งนภา จันทรา; ศรีจันทร์ พลับจั่น; นภชา สิงห์วีรธรรม; แสงโฉม ถนอมสิงห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จากการเปลี่ยนแปลงระบบบริการสุขภาพ การผลิตกำลังคนที่มีคุณลักษณะขีดความสามารถในการทำหน้าที่จึงควรมีความสอดคล้องกับสถานการณ์หรือระบบสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป สถาบันพระบรมราชชนก เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการผลิตและพัฒนากำลังค ...
    • การศึกษาบทบาทและสมรรถนะเภสัชกรด้านสมุนไพรในโรงพยาบาลและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในกระทรวงสาธารณสุข 

      รวงทิพย์ ตันติปิฎก; ยงศักดิ์ ตันติปิฎก; ผกากรอง ขวัญข้าว; พินิต ชินสร้อย; ปิยะนุช ทิมคร; วสันต์ ชูชัยมงคล; ธนพงศ์ เพ็งผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08-30)
      การศึกษาบทบาทและสมรรถนะเภสัชกรด้านสมุนไพรในโรงพยาบาลและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในกระทรวงสาธารณสุข เป็นโครงการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ ได้แก่ ศึกษานโยบายเกี่ยวกับสมุนไพรของประเทศ ศึกษาความจำเป็นด้านสุขภาพ (Health ...
    • การศึกษาภาระงานและผลิตภาพกำลังคนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; Benjaporn Rajataram; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; Kamolnut Muangyim; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; วิริยา โพธิ์ขวาง-ยุสท์; Wiriya Phokhwang-Just; ศุทธินี วัฒนกูล; Suttini Wattanakul; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; ศรีจันทร์ พลับจั่น; Srijan Pupjain; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; เบญจพร รัชตารมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสมโดยทำการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาระงานและปัจจัยกำหนดผลิตภาพ 2) ศึกษาความสอดคล้องของภาระงานกับอัตรากำลังบุคลากรที่มี และ3) สังเคราะห์ข้อเสนอเช ...
    • การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Repeepong Suphanchaimat; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ปิติยา สันทัด; Pitiya Santad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชี ...
    • การศึกษาสถานการณ์และความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพระดับปฐมภูมิในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Pinij Faramnuayphol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ในการควบคุมการระบาดของโรค เช่น โรคโควิด-19 จำเป็นต้องสกัดโรคให้อยู่ในวงจำกัด ซึ่งเป็นบทบาทของสถานบริการระดับปฐมภูมิ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในการติดตามผู้สัมผัสและการค้นหาเชิงรุกในชุมชน โดยการศึกษานี้ ...
    • การศึกษาแผนการเพิ่มจำนวนนักเวชศาสตร์การสื่อความหมายและการกระจายตัวที่เหมาะสม 

      พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; ขวัญชนก ยิ้มแต้; เบญจมาศ พระธานี; พรเทพ เกษมศิริ; ภาธร ภิรมย์ไชย; จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      ประเทศไทยมีปัญหาการขาดแคลนนักเวชศาสตร์การสื่อความหมายซึ่งได้แก่ นักแก้ไขการได้ยิน และนักแก้ไขการพูด อย่างมาก อัตราส่วนของจำนวนนักเวชศาสตร์การสื่อความหมายต่อจำนวนประชากรที่ค่อนข้างต่ำ และมีการกระจายตัวไม่เหมาะสม ...
    • การศึกษาและพัฒนาสถานภาพทางสังคมและทางกฎหมายของหมอพื้นบ้าน 

      รุจินาถ อรรถสิษฐ; เสาวณีย์ กุลสมบูรณ์; ยงศักดิ์ ตันติปิฎก; กุสุมา ศรียากูล; อรจิรา ทองสุกมาก; วราภรณ์ ด่อนแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553)
      รายงาน “การศึกษาและพัฒนาสถานภาพทางสังคมและทิศทางทางกฎหมายของหมอพื้นบ้าน” เล่มนี้ เกิดจากการทำงานรับรองสถานภาพหมอพื้นบ้าน ตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 ในช่วง พ.ศ.2553-2554 ซึ่งมีกระบวนการพิจารณาสิทธิตามกฎหม ...
    • การสร้างและจัดการความรู้เพื่อพัฒนากำลังคนแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้านและแพทย์ทางเลือกในประเทศไทยอย่างยั่งยืน 

      ขวัญชัย วิศิษฐานนท์; Khwanchai Visithanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การสร้างและจัดการความรู้เพื่อพัฒนากำลังคนแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก เป็นผลจากการศึกษาวิเคราะห์เชิงระบบ โดยการทบทวนเอกสาร การสุ่มสำรวจข้อมูลความคิดเห็นของผู้เข้าสอบขึ้นทะเบียนประกอบโรคศิลป์ การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาบทบาทของวิทยาลัยภายใต้พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนกในการสร้างความเข้มแข็งของบุคลากรสาธารณสุขสำหรับการสนับสนุนทีมหมอครอบครัว 

      อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์; Atcharawadee Sriyasak; จินตนา ทองเพชร; Jintana Tongpeth; วารุณี เกตุอินทร์; Varunee Ketin; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Rajataram; บุญเรือง ขาวนวล; Bunrean Kaonuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายคลินิกหมอครอบครัวเพื่อการพัฒนาบริการปฐมภูมิ และผลักดันให้มีพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ทำให้มีการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการเข้า ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคต 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; วาสินี วิเศษฤทธิ์; Wasinee Wisestrith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ประชากรสูงอายุในสังคมไทย ประกอบกับปัญหาโรคเรื้อรังจะส่งผลทำให้ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพาและต้องการการดูแลมีจำนวนมากขึ้น การจัดระบบบริการการดูแลระยะยาวเพื่อสามารถให้บริการที่ครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสังคม ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคระบาดใหญ่ 

      อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ทัศนีย์ เกริกกุลธร; Tassanee Krirkgulthorn; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ; Panisara Songwatthanayuth; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; สุชาดา นิ้มวัฒนากุล; Suchada Nimwatanakul; วรวุฒิ แสงทอง; Worawut Saengthong; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; สืบตระกูล ตันตลานุกุล; Seubtrakul Tantalanukul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจาย การธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทั้งเชิงปริมาณ ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น 

      ดวงพร คำนูณวัฒน์; นิยะนันท์ สำเภาเงิน; สุนิดา ศิวปฐมชัย (สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552)
      หนังสือการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นนี้ จัดทำขึ้นจากการดำเนินงานโครงการวิจัย การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น : แนวคิด การดำเนินงาน และการขยายผล โดยศึกษาต่อเนื่องจากการศึกษาสถานภาพการดำเนินงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น การวิจัยและพัฒนาการ ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น : แนวคิด การดำเนินงาน และการขยายผล 

      ดวงพร คำนูณวัฒน์; นิยะนันท์ สำเภาเงิน; สุนิดา ศิวปฐมชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่นักสื่อสารสุขภาพ หรือ นสส.ที่ปฏิบัติงานสื่อสารสุขภาพในพื้นที่จังหวัดแพร่และกาญจนบุรีซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยช่วงแรก ให้สามารถดำเนินงานได้ด้วยตนเอง สนับสนุน นสส. ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น: จังหวัดปัตตานี 

      อิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ; นุวรรณ ทับเที่ยง; อรุณีวรรณ บัวเนี่ยว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
      โครงการวิจัยและพัฒนาการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น: จังหวัดปัตตานี (Research and Development of Local Health Communication: Pattani) มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาผู้ที่มีความตั้งใจ สนใจ และมีความพร้อมที่จะทำหน้าที่นักสื่อสารสุขภาพท ...
    • การหมุนเวียนของบุคลากรที่ให้บริการในสถานพยาบาลภาครัฐ : รายงานวิจัย เล่มที่ 5 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการหมุนเวียนของบุคลากรในระบบบริการโดยเน้นในส่วนของภาครัฐบาลรวมทั้งประเด็นเรื่องการลาออกจากราชการของแพทย์ การศึกษาครอบคลุมบุคลากรสี่กลุ่มคือ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ...
    • การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิเคราะห์การเงินการคลังของโรงพยาบาล (Hospital Financial Analysts, HFA) ปี 2552 

      สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-08)
      วัตถุประสงค์ (1) เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และทักษะเกี่ยวกับแนวคิดหลักการ วิธีการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการเงินการคลังของโรงพยาบาลในประเด็นต่างๆ การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ภาวะคุกคาม และโอกาสในการพัฒนา เพื่อนำไปสู่กา ...
    • การออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตเพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ 

      เมษ์ ศรีพัฒนาสกุล; May Sripatanaskul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      งานวิจัยเรื่องการออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคต เพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทางเลือกรูปแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์ใหม่ๆ ...