• พลังปัญญา: สู่การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ภาคที่ 3 พัฒนาการของระบบบริการ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; Health Systems Research Institute; National Health Security Office; National Health System Reform Office; Thai Health Promotion Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เอกสารและบทความวิเคราะห์สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวเนื่องกับระบบประกันสุขภาพเล่มนี้ เป็นผลจากความเพียรพยายามของนักวิชาการและนักวิจัยจำนวนหนึ่งที่ได้เริ่มทำการศึกษาสร้างความเข้าใจต่อแนวคิดและวิธีการที่นำมาใช้อย่างต่อเนื่อง ...
    • ระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนของโครงการประกันสุขภาพต่างๆ : รายงานวิจัย เล่มที่ 4 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; นิภา ศรีอนันต์; Anchana Na Ranong; Nipa Srianant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนของโครงการประกันสุขภาพที่สำคัญๆ ในประเทศไทย รวมทั้งการพัฒนามาตรการและกลไกการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ผลการศึกษาพบว่ามีหลายโครงการประกันสุขภาพ ...
    • ระบบประกันสุขภาพ : องค์ประกอบและทางเลือก 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค เป็นความพยายามในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับประชาชนทุกคน จากการที่ได้ติดตามประเด็นที่มีการอภิปรายในช่วงระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา ทั้งในวงการสาธารณสุข วงการนิติบัญญัติ ตลอดจนความเห็นสาธารณะ ...
    • ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ 

      นิภา ศรีอนันต์; Nipa Srianant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. ภาพความเป็นไปโดยรวมของโครงการสวัสดิการข้าราชการ 2. เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงานในช่วงเวลาที่ผ่านมาและแนวทางในปัจจุบันเพื่อที่จะประเมินความคืบหน้าของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • ระบบหลักประกันสุขภาพไทย 

      สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; National Health Security Office; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2555)
      เมื่อปี พ.ศ. 2544 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขได้จัดพิมพ์หนังสือ “ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย” ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อันเป็นผลสืบเนื่องจากการจัดประชุมสัมมนานานาชาติครั้งที่ 8 ว่าด้วยการพัฒนาประกันสุขภาพและการนำไปปฏ ...
    • ลักษณะปัญหาการรับบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพต่างๆ 

      วิจิตร ระวิวงศ์; Wichit Rawiwong; ชาย ธีระสุต; ประวิ อ่ำพันธ์ุ; ทิพากรณ์ โพธิ์ถวิล; ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ลักษณะปัญหาการรับบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพต่าง ๆ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพปัญหาของผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพ 5 ระบบที่มีอยู่ในปัจจุบันและผู้รับบริการที่อยู่นอกระบบประกันสุขภาพ 2) ...
    • สถานการณ์การใช้บริการสุขภาพ การประกันสุขภาพ และความจำเป็นด้านสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของชาวต่างชาติที่เข้ามามีครอบครัวในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย : กรณีศึกษาจังหวัดหนองบัวลำภู อุดรธานี และขอนแก่น 

      นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; อานนท์ คุณากรจรัสพงศ์; Anon Khunakorncharatphong; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09-14)
      ปัจจุบันนี้ โลกมีการเคลื่อนย้ายของประชากร (migration) เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจจะเป็นการเคลื่อนย้ายด้วยเหตุผลที่หลากหลาย เช่น การลี้ภัยทางการเมือง การย้ายถิ่นที่อยู่เพื่อสร้างโอกาสในการทำธุรกิจ การทำงาน การศึกษา ...
    • สมดุลของนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการเป็นศูนย์กลางธุรกิจการรักษาพยาบาลของเอเชีย บนฐานคิดเศรษฐกิจพอเพียง 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ, 2549-10)
      มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประเด็นที่เรียนรู้ร่วมกันได้ระหว่างนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาประเทศไปสู่การเป็นศูนย์กลางธุรกิจการรักษาพยาบาลของเอเชีย อันจะนําไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาที่สร้างสรรค์สําหรั ...
    • สิทธิประโยชน์ด้านอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการของระบบประกันสุขภาพภาครัฐในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการเป็นบริการที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับคนพิการ ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่มีแนวโน้มที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น สิทธิประโยชน์และบริการดังกล่าวของคนพิการในประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างระบบประก ...
    • สิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; นิภา ศรีอนันต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานฉบับนี้พยายามประเมินสถานการณ์และปัญหาในการกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของโครงการประกันสุขภาพต่างๆ ของภาครัฐที่มีอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน และให้ข้อเสนอแนะแนวทางการกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชน 

      สำนักวิจัยเอแบค-เคเอสซีอินเตอร์เนตโพลล์(เอแบคโพลล์) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ; ABAC-KSC Internet Poll(ABAC POLL) Assumption University (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชนการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำรวจรูปแบบหลักประกันสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วประเทศเพื่อสำรวจความเห็น ความเข้าใจและความคาดหวังของกลุ่มตัวอย่างประชาชนต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อส ...
    • เป้าประสงค์/ปัจจัยผลักดันระบบที่สําคัญ/ปัจจัยความไม่แน่นอนของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      รายงาน เรื่อง เป้าประสงค์/ปัจจัยผลักดันระบบที่สําคัญ/ปัจจัยความไม่แน่นอนของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อการเข้าถึงบริการที่มีคุณการที่มีคุณภาพ (Quality) ...
    • แนวทางและทางเลือกในการสร้างตัวแบบสำหรับการวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit Incidence Analysis) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพ 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; อรรถกฤต เล็กศิวิไล; Anchana Na Ranong; Anthakrit Leksiwilai; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวัดผลประโยชนที่ประชาชนกลุ่มต่างๆ (เช่น ตามเศรษฐานะต่างๆ) ได้รับจากโครงการของภาครัฐ (benefit incidence) เป็นเครื่องมือหนึ่งทางเศรษฐศาสตร์การคลัง (Public Finance หรือในปัจจุบันมักเรียกว่าเศรษฐศาสตร์ภาครัฐหรือ Economics ...