• ระบาดวิทยาจีโนมของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae ที่ดื้อทั้งยาคาร์บาพีเนมและโคลิสตินที่ก่อการระบาดในโรงพยาบาลของประเทศไทย 

      อนุศักดิ์ เกิดสิน; Anusak Kerdsin; รุจิรัตน์ หาตรงจิตต์; Rujirat Hatrongjit; พีชานิกา ชอบจิตต์; Peechanika Chopjit; ปาริชาติ บัวโรย; Parichart Boueroy; ธิดาทิพย์ วงศ์สุรวัฒน์; Thidathip Wongsurawat; พิรุณ เจนเจริญพันธ์; Piroon Jenjaroenpun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ดำเนินการถอดรหัสจีโนมเชื้อ จำนวน 116 สายพันธุ์ แบ่งเป็นเชื้อ CRE ที่แยกได้จากคนที่ดื้อยาโคลิสติน หรือมียีนดื้อยาโคลิสตินชนิด mcr จำนวน 100 สายพันธุ์ และเชื้อ Enterobacterales ที่แยกได้จากสัตว์ ...
    • วิจัยสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ตรวจยีนมะเร็งเต้านม บริการการแพทย์แม่นยำเพื่อคนไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      โครงการวิจัยการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย เป็นงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบัน ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ ในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-28)
      การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation : KT) ช่วยยืดอายุผู้ป่วยไตวาย KT จำเป็นต้องใช้สารกดภูมิคุ้มกัน เช่น Tacrolimus (TAC) และ Mycophenolate mofetil (MMF) เพื่อป้องกันการปฏิเสธไตของผู้บริจาค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียไต ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยาที่เป็นสาเหตุหลักในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      นนทญา นาคคำ; Nontaya Nakkam; วิจิตรา ทัศนียกุล; Wichittra Tassaneeyakul; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; ศิริมาศ กาญจนวาศ; Sirimas Kanjanawart; ปริญญา คนยัง; Parinya Konyoung; กันยารัตน์ แข้โส; Kanyarat Khaeso (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยา (Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, SCARs) จัดเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่มักไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์หรือขนาดยา ซึ่งมีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ โดยยาที่เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยากลุ่ม Thiopurine ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ 

      อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; สามารถ ภคกษมา; Samart Pakakasama; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์; Usanarat Anurathapan; การันต์ ไพสุขศาสนติวัฒนา; Karan Paisooksantivatana; สุภาพร วิวัฒนากุล; Supaporn Wiwattanakul; ลลิตา สาธิตสมิตพงษ์; Lalita Sathitsamitphong; อังคณา วินัยชาติศักดิ์; Angkana Winaichatsak; ปิติ เตชะวิจิตร์; Piti Techavichit; ปิยะ รุจกิจยานนท์; Piya Rujkijyanont; อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ; Arnatchai Maiuthed; ภัทรวิทย์ รักษ์ทอง; Pattarawit Rukthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน Lymphoblastic (Acute Lymphoblastic Leukemia, ALL) เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็กที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งได้รับการวินิจฉัยในเด็ก คิดเป็นร้อยละ 25 ของมะเร็งทั้งหมดในเด็ก การรักษาโดยทั่วไปประกอบด้วย ...
    • แผนปฏิบัติการ บูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย Genomics Thailand (พ.ศ. 2563-2567) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แผนปฏิบัติการ แผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) พ.ศ. 2563-2567